ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พ.ศ. 2567"
หน้าตา
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เพิ่มผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมี |
เพิ่มผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม |
||
บรรทัด 275: | บรรทัด 275: | ||
== รางวัลโนเบล == |
== รางวัลโนเบล == |
||
[[ไฟล์:NobelPrizeMedal.jpg|right|100px]] |
[[ไฟล์:NobelPrizeMedal.jpg|right|100px]] |
||
* [[รางวัลโนเบลสาขาเคมี|สาขาเคมี]] – [[เดวิด เบเกอร์]], [[เดมิส ฮัสซาบิส]] และ[[จอห์น เอ็ม. จัมเปอร์]]<ref>{{cite web|url=https://www.nobelprize.org/prizes/chemistry/2024/summary/|title=The Nobel Prize in Chemistry 2024|website=Nobelprize.org|accessdate=October 9, 2024}}</ref> |
* [[รางวัลโนเบลสาขาเคมี|สาขาเคมี]] – [[เดวิด เบเกอร์ (นักชีวเคมี)|เดวิด เบเกอร์]], [[เดมิส ฮัสซาบิส]] และ[[จอห์น เอ็ม. จัมเปอร์]]<ref>{{cite web|url=https://www.nobelprize.org/prizes/chemistry/2024/summary/|title=The Nobel Prize in Chemistry 2024|website=Nobelprize.org|accessdate=October 9, 2024}}</ref> |
||
* [[รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม|สาขาวรรณกรรม]] – |
* [[รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม|สาขาวรรณกรรม]] – [[ฮัน คัง]]<ref>{{cite web|url=https://www.nobelprize.org/prizes/literature/2024/summary/|title=The Nobel Prize in Literature 2024|website=Nobelprize.org|accessdate=October 10, 2024}}</ref> |
||
* [[รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ|สาขาสันติภาพ]] – |
* [[รางวัลโนเบลสาขาสันติภาพ|สาขาสันติภาพ]] – |
||
* [[รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์|สาขาฟิสิกส์]] – [[จอห์น ฮอปฟิลด์]] และ[[เจฟฟรีย์ ฮินตัน]]<ref>{{cite web|url=https://www.nobelprize.org/prizes/physics/2024/summary/|title=The Nobel Prize in Physics 2024|website=Nobelprize.org|accessdate=October 8, 2024}}</ref> |
* [[รางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์|สาขาฟิสิกส์]] – [[จอห์น ฮอปฟิลด์]] และ[[เจฟฟรีย์ ฮินตัน]]<ref>{{cite web|url=https://www.nobelprize.org/prizes/physics/2024/summary/|title=The Nobel Prize in Physics 2024|website=Nobelprize.org|accessdate=October 8, 2024}}</ref> |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 20:46, 10 ตุลาคม 2567
ศตวรรษ: | |
---|---|
ปี: |
ปฏิทินสุริยคติไทย | 2567 |
ปฏิทินกริกอเรียน | 2024 MMXXIV |
Ab urbe condita | 2777 |
ปฏิทินอาร์มีเนีย | 1473 ԹՎ ՌՆՀԳ |
ปฏิทินอัสซีเรีย | 6774 |
ปฏิทินบาไฮ | 180–181 |
ปฏิทินเบงกอล | 1431 |
ปฏิทินเบอร์เบอร์ | 2974 |
ปีในรัชกาลอังกฤษ | 2 Cha. 3 – 3 Cha. 3 |
พุทธศักราช | 2568 |
ปฏิทินพม่า | 1386 |
ปฏิทินไบแซนไทน์ | 7532–7533 |
ปฏิทินจีน | 癸卯年 (เถาะธาตุน้ำ) 4720 หรือ 4660 — ถึง — 甲辰年 (มะโรงธาตุไม้) 4721 หรือ 4661 |
ปฏิทินคอปติก | 1740–1741 |
ปฏิทินดิสคอร์เดีย | 3190 |
ปฏิทินเอธิโอเปีย | 2016–2017 |
ปฏิทินฮีบรู | 5784–5785 |
ปฏิทินฮินดู | |
- วิกรมสมวัต | 2080–2081 |
- ศกสมวัต | 1946–1947 |
- กลียุค | 5125–5126 |
ปฏิทินโฮโลซีน | 12024 |
ปฏิทินอิกโบ | 1024–1025 |
ปฏิทินอิหร่าน | 1402–1403 |
ปฏิทินอิสลาม | 1445–1446 |
ปฏิทินญี่ปุ่น | ศักราชเรวะ 6 (令和6年) |
ปฏิทินจูเช | 113 |
ปฏิทินจูเลียน | กริกอเรียนลบ 13 วัน |
ปฏิทินเกาหลี | 4357 |
ปฏิทินหมินกั๋ว | ROC 113 民國113年 |
เวลายูนิกซ์ | 1704067200–1735689599 |
พุทธศักราช 2567 เป็นปีปัจจุบัน ตรงกับปีคริสต์ศักราช 2024 เป็นปีอธิกสุรทินที่วันแรกเป็นวันจันทร์ตามปฏิทินเกรกอเรียน และเป็น
- ปีมะโรง ฉศก จุลศักราช 1386 (วันที่ 16 เมษายน เป็นวันเถลิงศก)
- ปีที่ 5 ของคริสต์ทศวรรษ 2020, ปีที่ 24 ของคริสต์ศตวรรษที่ 21 และปีที่ 24 ของคริสต์สหัสวรรษที่ 3
ตลอดปีนี้มีการจัดการเลือกตั้งระดับชาติราว 76 ประเทศทั่วโลก ครอบคลุมประชากรราว 4 พันล้านคน[1][2][3][4] ประเทศที่มีประชากรมากที่สุดในโลก 8 ใน 10 ประเทศแรก ได้แก่ บังกลาเทศ, บราซิล, ปากีสถาน, เม็กซิโก, รัสเซีย, สหรัฐ, อินเดีย และอินโดนีเซีย[1] รวมทั้งสหราชอาณาจักร[5][6] และสหภาพยุโรป[7] จะจัดการเลือกตั้งขึ้นในปีนี้
ผู้นำประเทศไทย
- พระมหากษัตริย์ไทย: พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว (พ.ศ. 2559 – ปัจจุบัน)
- นายกรัฐมนตรีไทย:
- เศรษฐา ทวีสิน (22 สิงหาคม พ.ศ. 2566 – 14 สิงหาคม พ.ศ. 2567)
- ภูมิธรรม เวชยชัย (รักษาการ: 14 – 16 สิงหาคม พ.ศ. 2567)
- แพทองธาร ชินวัตร (16 สิงหาคม พ.ศ. 2567 - ปัจจุบัน)
เหตุการณ์
มกราคม
- 1 มกราคม
- อียิปต์, เอธิโอเปีย, อิหร่าน, ซาอุดีอาระเบีย และ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ กลายเป็นสมาชิก บริกส์[8]
- สาธารณรัฐนากอร์โน-คาราบัคถูกยุบอย่างเป็นทางการเมื่อนากอร์โน-คาราบัครวมเป็นหนึ่งเดียวกับอาเซอร์ไบจาน[9]
- เกิดแผ่นดินไหวขนาด 7.4 ทางชายฝั่งตะวันตกของญี่ปุ่น ทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 221 รายและบาดเจ็บ 1,120 ราย[10][11]
- 2 มกราคม – เหตุเครื่องบินชนกันบนทางวิ่งท่าอากาศยานฮาเนดะ พ.ศ. 2567: เครื่องบิน แอร์บัส เอ350-941 ของสายการบินเจแปนแอร์ไลน์เที่ยวบินที่ 516 พุ่งชนกับเครื่องบินของหน่วยยามฝั่งญี่ปุ่นบนทางวิ่งของสนามบินฮาเนดะ ทำให้เจ้าหน้าที่หน่วยยามฝั่งเสียชีวิต 5 คน[12]
- 3 มกราคม – เหตุระเบิดในเคร์มอน: รัฐอิสลามก่อเหตุระเบิดสองครั้งในระหว่างพิธีระลึกถึงการครบรอบการลอบสังหารกอเซม โซเลย์มอนี ในเคร์มอน ประเทศอิหร่าน ทำให้มีผู้เสียชีวิต 94 คน[13]
- 9 มกราคม – กาบรีแยล อาตาล ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีประเทศฝรั่งเศส
- 12 มกราคม – สหรัฐอเมริกาเริ่มปฏิบัติการทางทหารต่อประเทศเยเมน
- 13 มกราคม – การเลือกตั้งประธานาธิบดีสาธารณรัฐจีน พ.ศ. 2567: ไล่ ชิงเต๋อ จากพรรคประชาธิปไตยก้าวหน้าชนะการเลือกตั้งด้วยคะแนนเสียงร้อยละ 40[14]
- 14 มกราคม - สมเด็จพระราชินีนาถมาร์เกรเธอที่ 2 แห่งเดนมาร์ก สละราชสมบัติ และสมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดอริกที่ 10 แห่งเดนมาร์ก พระราชโอรสพระองค์ใหญ่ เสด็จขึ้นครองราชย์[15]
- 15 มกราคม ภูเขาไฟสวาร์ตเซนกิในประเทศไอซ์แลนด์ระเบิดมีผู้เสียชีวิตหนึ่งราย[16]
- 19 มกราคม – ญี่ปุ่นกลายเป็นประเทศที่ 5 ที่สามารถลงจอดแบบนุ่มนวลบนดวงจันทร์ได้สำเร็จด้วยยานลงจอดอัจฉริยะเพื่อสำรวจดวงจันทร์[17][18]
- 24 มกราคม – เครื่องบินขนส่งทางทหารอิลยูชิน อิล-76 ของรัสเซียพร้อมเชลยศึกชาวยูเครน 65 คน ลูกเรือ 6 คน และผู้คุม 3 คน เกิดอุบัติเหตุตกในเขตโคโรชานสกีของรัสเซียใกล้ชายแดนยูเครน ส่งผลให้ทุกคนบนเครื่องเสียชีวิต[19]
- 31 มกราคม – สุลต่าน อิบราฮิม อิซมาอิล เสด็จขึ้นครองราชสมบัติเป็นยังดีเปอร์ตวนอากง พระองค์ที่ 17 แห่งมาเลเซีย[20]
กุมภาพันธ์
- 6 กุมภาพันธ์– อดีตประธานาธิบดีชิลี เซบาสเตียน ปิเญรา เสียชีวิตจากอุบัติเหตุเฮลิคอปเตอร์ตกขณะมีอายุได้ 74 ปี
- 7 กุมภาพันธ์ – การเลือกตั้งประธานาธิบดีอาเซอร์ไบ จาน: ท่ามกลางการคว่ำบาตรของฝ่ายค้าน ประธานาธิบดีอิลฮัม อาลีเยฟได้รับการเลือกตั้งเป็นสมัยที่ห้า
- 8 กุมภาพันธ์ – การเลือกตั้งทั่วไปของปากีสถาน : นักการเมือง อิสระซึ่งส่วนใหญ่เป็นสมาชิกพรรคการเมืองที่ถูกห้ามอย่างปากีสถาน Tehreek-e-Insafได้รับชัยชนะในที่นั่งส่วนใหญ่ในสภานิติบัญญัติแห่งชาติ
- 11 กุมภาพันธ์ – การเลือกตั้งประธานาธิบดีฟินแลนด์ : ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีที่สูสีที่สุดในประวัติศาสตร์ฟินแลนด์อเล็กซานเดอร์ สตับบ์ได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดีในรอบที่สอง
- 14 กุมภาพันธ์ – การเลือกตั้งทั่วไปของอินโดนีเซีย : ปราโบโว ซูเบียนโตชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีและพรรคประชาธิปไตยแห่งการต่อสู้ชนะคะแนนเสียงมากที่สุดในการเลือกตั้งสมาชิกสภานิติบัญญัติ
- 22 กุมภาพันธ์ - ยานโนวา-ซีของบริษัทอินทูอิทิฟแมชชีนส์ลงจอดบนดวงจันทร์ กลายเป็นยานอวกาศของบริษัทเอกชนลำแรกที่สามารถลงจอดบนดวงจันทร์ได้[21]
มีนาคม
- 7 มีนาคม - สวีเดนเข้าร่วมเป็นประเทศสมาชิกขององค์การสนธิสัญญาป้องกันแอตแลนติกเหนือ เป็นประเทศที่ 32 นอกจากนี้ยังทำให้สวีเดนเป็นประเทศกลุ่มนอร์ดิกประเทศสุดท้ายที่เข้าร่วมเป็นพันธมิตร[22][23]
- 13 มีนาคม - รัฐบัญญัติปัญญาประดิษฐ์ ซึ่งเป็นกรอบทางกฎหมายและกฎระเบียบที่ครอบคลุมฉบับแรกของโลกสำหรับปัญญาประดิษฐ์ ได้รับการอนุมัติโดยสหภาพยุโรป[24]
- 15 - 17 มีนาคม - การเลือกตั้งประธานาธิบดีรัสเซีย พ.ศ. 2567: วลาดีมีร์ ปูติน ชนะการเลือกตั้งประธานาธิบดีรัสเซียและได้ดำรงตำแหน่งอีกสมัยเป็นวาระที่ห้า[25]
- 22 มีนาคม - เกิดเหตุกราดยิงที่โครคุสซีตีฮอลล์ ในเมืองครัสโนกอร์สค์ ประเทศรัสเซีย ส่งผลให้มีผู้เสียชีวิตผู้คนอย่างน้อย 144 ราย และบาดเจ็บ 551 ราย[26]
- 26 มีนาคม - สะพานแฟรนซิส สก็อต คีย์ ในนครบอลทิมอร์ สหรัฐ ถล่มลงมา หลังถูกชนโดยเรือขนส่ง[27]
- 31 มีนาคม - บัลแกเรียและโรมาเนียกลายเป็นสมาชิกของพื้นที่เชงเกนผ่านเส้นทางทะเลและทางอากาศ[28]
เมษายน
- 3 เมษายน – เหตุแผ่นดินไหวขนาด 7.5 ที่นครฮวาเหลียน ประเทศไต้หวัน ทำให้มีผู้เสียชีวิต 12 ราย, บาดเจ็บ 1,106 คน และมีผู้สูญหายและติดอยู่ใต้ซากอาคาร 705 คน[29]
- 8 เมษายน – สุริยุปราคาเต็มดวง สามารถมองเห็นได้ทั่วทวีปอเมริกาเหนือ[30]
- 14 เมษายน – ประเทศอิหร่านโจมตีประเทศอิสราเอลด้วยขีปนาวุธ มีผู้บาดเจ็บ 12 ราย[31]
- 16 เมษายน – เหตุอุทกภัยในอ่าวเปอร์เซีย ที่บริเวณเมืองดูไบของสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ มีผู้เสียชีวิตรวม 32 คน[32]
- 29 เมษายน – เหตุอุทกภัยในรัฐฮิวกรังจีดูซูว ในภาคใต้ของประเทศบราซิล มีผู้เสียชีวิต 100 คน อุทกภัยนี้ถือว่าเลวร้ายที่สุดในบราซิลในรอบ 80 ปี
พฤษภาคม
- 7 - 11 พฤษภาคม – การประกวดเพลงยูโรวิชัน ครั้งที่ 68 เป็นการประกวดเพลงซึ่งจัดขึ้นที่เมืองมัลเมอ ประเทศสวีเดน โดยมีสหภาพการแพร่สัญญาณวิทยุและโทรทัศน์แห่งยุโรป และมีสถานีโทรทัศน์แห่งชาติสวีเดนเป็นเจ้าภาพ โดยมีประเทศที่เข้าร่วมทั้งหมด 37 ประเทศ
- 10 พฤษภาคม – เหตุการณ์พายุสุริยะในเดือนพฤษภาคม 2024 ที่โลกได้รับผลกระทบจากระลอกพายุสุริยะที่มีเปลวสุริยะและพายุแม่เหล็กโลกความรุนแรงมาก ที่กระทบโลกในครั้งนี้ถือว่ารุนแรงที่สุดนับตั้งแต่ตุลาคม ปี 2003 และทำให้เกิดออโรราที่ละติจูดที่ต่ำลงมากว่าปกติ ทั้งในซีกโลกเหนือและซีกโลกใต้
- 16 พฤษภาคม – แอมานุแอล มาครงประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินในนิวแคลิโดเนีย[33]มีผู้เสียชีวิต 7 ราย และยกเลิกในวันที่ 27 พฤษภาคม
- 19 พฤษภาคม – เหตุเฮลิคอปเตอร์ตกที่แวร์แซฆอน เป็นเฮลิคอปเตอร์ของกองทัพอากาศอิหร่านตกในตำบลแบคแรแบดชนบท ใกล้กับเมืองแวร์แซฆอน ประเทศอิหร่าน ขณะเดินทางจากเขื่อนกีซแกแลซี มุ่งหน้านครแทบรีซ เป็นผลให้ผู้โดยสารและคนขับเสียชีวิตทั้งหมด 9 คน
- 21 พฤษภาคม – ผู้อำนวยการท่าอากาศยานสุวรรณภูมิประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินเนื่องจากเที่ยวบิน สิงคโปร์แอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 321
มิถุนายน
- 3 มิถุนายน – เกิดเหตุแผ่นดินไหวขนาด 5.9 ที่คาบสมุทรโนโตะในจังหวัดอิชิกาวะทางตอนกลางของประเทศญี่ปุ่น เป็นพื้นที่เดียวกับที่เคยเกิดแผ่นดินไหวใหญ่ในวันขึ้นปีใหม่ที่ผ่านมา[34]
- 14 มิถุนายน - 14 กรกฎาคม – การแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2024 หรือรู้จักกันในชื่อ ยูโร 2024 เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรปครั้งที่ 17 จัดขึ้นโดยยูฟ่า จัดขึ้นที่ประเทศเยอรมนี ระหว่างวันที่ 14 มิถุนายน ถึง 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2567
- 20 มิถุนายน - 14 กรกฎาคม – การแข่งขันโกปาอาเมริกา 2024 เป็นการแข่งขันฟุตบอลโกปาอาเมริกา ครั้งที่ 48 ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลชายระดับทีมชาติชิงแชมป์ทวีปอเมริกาใต้ จัดขึ้นโดยสมาพันธ์ฟุตบอลอเมริกาใต้ (คอนเมบอล) ในปีนี้จะจัดขึ้นที่สหรัฐอเมริกา และร่วมจัดโดยคอนคาแคฟ จัดขึ้นตั้งแต่วันที่ 20 มิถุนายน ถึง 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2567
กรกฎาคม
- 3 กรกฎาคม – การระบาดทั่วของโควิด-19: มีผู้เสียชีวิตรวมกัน เกิน 7,010,680 ราย
- 4 กรกฎาคม – การเลือกตั้งทั่วไปในสหราชอาณาจักร พ.ศ. 2567
- 13 กรกฎาคม – ความพยายามลอบสังหารดอนัลด์ ทรัมป์ขณะปราศรัยในการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ พ.ศ. 2567 ที่รัฐเพนซิลเวเนีย มีผู้เสียชีวิต 2 คน รวมไปถึงผู้ก่อเหตุที่ถูกวิสามัญฆาตกรรมด้วย และมีผู้บาดเจ็บ 3 คน รวมไปถึงทรัมป์ที่ถูกยิงที่หูขวา
- 19 กรกฎาคม – เหตุอุบัติการณ์คราวด์สไตรก์ ทำให้ระบบคอมพิวเตอร์ทั่วโลกประสบปัญหาสัญญาณขาดหาย ซึ่งนำไปสู่การหยุดชะงักอย่างต่อเนื่องในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการอัปเดตคราวด์สไตรก์ที่ผิดพลาด
- 26 กรกฎาคม – 11 สิงหาคม – การแข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน ครั้งที่ 33 ณ กรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส
- 27 กรกฎาคม – ยูเนสโกได้ขึ้นทะเบียนอุทยานประวัติศาสตร์ภูพระบาทและแหล่งวัฒนธรรมสีมาวัดพระพุทธบาทบัวบานเป็นแหล่งมรดกโลก ในชื่อ ภูพระบาท ประจักษ์พยานแห่งวัฒนธรรมสีมาสมัยทวารวดี[35]
สิงหาคม
- 8 สิงหาคม – เหตุแผ่นดินไหวขนาด 7.1 นอกชายฝั่งทางตะวันตกในจังหวัดมิยาซากิของประเทศญี่ปุ่น ขณะที่เบื้องต้นยังไม่พบรายงานความเสียหายร้ายแรง[36][37]
- 9 สิงหาคม – เหตุเครื่องบินวอยปัสลีญัสอาแอเรียส เที่ยวบินที่ 2283 อดีตเที่ยวบินภายในประเทศบราซิล ซึ่งเดินทางจากท่าอากาศยานกาสกาเวลสู่ท่าอากาศยานนานาชาติเซาเปาลู/กวารุลยุส ขณะเครื่องบินเอทีอาร์ 72-500 ทำการร่องลง เครื่องบินเกิดการหมุนแบบแบนอย่างกะทันหันจนตกลงใกล้กับวินเงโด รัฐเซาเปาลู ณ ขณะนั้นเครื่องบินทำการบินอยู่ที่ระดับความสูง 17,000 ฟุต (5,200 เมตร) ก่อนที่จะหมุนหลุดการควบคุมและร่วงหล่นอย่างรวดเร็ว ทำให้ผู้โดยสารและลูกเรือทั้งหมด 62 คนเสียชีวิตทั้งหมด
- 17 สิงหาคม – ประเทศอินโดนีเซียเริ่มย้ายเมืองหลวงจากจาการ์ตาไปยังนูซันตารา
- 28 สิงหาคม - 8 กันยายน – พาราลิมปิกฤดูร้อน 2024 เป็นการแข่งขันกีฬาพาราลิมปิกฤดูร้อนครั้งที่ 17 โดยการแข่งขันกีฬาของคนพิการระดับโลกที่มีการแข่งขันกีฬาหลายชนิด จัดขึ้นที่ปารีส ประเทศฝรั่งเศส
กันยายน
- 14 กันยายน - 6 ตุลาคม – ฟุตซอลโลก 2024 เป็นการแข่งขันฟุตซอลโลกครั้งที่ 10 จัดขึ้นที่ประเทศอุซเบกิสถาน
- 17 - 18 กันยายน – เหตุวิทยุติดตามตัวระเบิดในประเทศเลบานอน มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 12 ราย และบาดเจ็บมากกว่า 2,750 คน
เหตุการณ์ที่คาดการณ์และกำหนดเวลาไว้
- 18 กันยายน – จันทรุปราคาบางส่วน[38]
- 2 ตุลาคม – สุริยุปราคาวงแหวน (ปลายด้านใต้ของประเทศอาร์เจนตินาและประเทศชิลี
- 5 พฤศจิกายน – การเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ พ.ศ. 2567
วันถึงแก่กรรม
มกราคม
- 1 มกราคม – พัสเทว ปันเฑ อดีตนายกรัฐมนตรีตรินิแดดและโตเบโก (เกิด 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2476)[39]
- 2 มกราคม – ศาสตราจารย์ คุณหญิง นงเยาว์ ชัยเสรี อดีตรัฐมนตรีว่าการทบวงมหาวิทยาลัย และอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เกิด 9 ตุลาคม พ.ศ. 2477)[40]
- 6 มกราคม – โอภาส พลศิลป อดีตรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทยและอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดลพบุรี (เกิด 2 เมษายน พ.ศ. 2464)
- 7 มกราคม – ฟรันทซ์ เบ็คเคินเบาเออร์ อดีตนักฟุตบอลและโค้ชชาวเยอรมัน (เกิด 11 กันยายน พ.ศ. 2488)[41]
กุมภาพันธ์
- 1 กุมภาพันธ์ –
- รังสรรค์ มูลทองสงค์ (ต๊ะ ยมทูต) ยูทูบเบอร์ชาวไทย[42]
- มาร์ค กุสตาฟสัน นักสร้างแอนิเมชันและผู้กำกับภาพยนตร์ชาวอเมริกัน (เกิด 19 กันยายน พ.ศ. 2502)[43]
- คาร์ล เวเธอร์ส นักแสดง ผู้กำกับภาพยนตร์และนักฟุตบอลชาวอเมริกัน (เกิด 14 มกราคม พ.ศ. 2491)[44]
- 2 กุมภาพันธ์ –
- เกร็กกอรี่ ชาร์ลส์ ริเวอร์ส นักแสดงชาวออสเตรเลีย–ฮ่องกง (เกิด 30 เมษายน พ.ศ. 2508)[45]
- เอียน ลาเวนเดอร์ นักแสดงชาวอังกฤษ (เกิด 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2489)[46]
- เวย์น เครเมอร์ นักกีตาร์ นักร้องและนักแต่งเพลงและโปรดิวเซอร์และนักดนตรีชาวอเมริกัน (เกิด 30 เมษายน พ.ศ. 2491)[47]
- จอนนี่ เออร์วิน พิธีกร นักธุรกิจและนักเขียนและนักพากย์ชาวอังกฤษ (เกิด 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2516)[48]
- ดอน เมอร์เรย์ นักแสดงชาวอเมริกัน (เกิด 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2472)[49]
- วิลเฮลเมเนีย เฟอร์นันเดซ นักร้องชาวอเมริกัน (เกิด 5 มกราคม พ.ศ. 2492)[50]
- 3 กุมภาพันธ์ –
- ไมค์ กิลล์ เจ้าหน้าที่โดนัลด์ ทรัมป์[51]
- โทนี่ ฮัทสัน นักฟุตบอลชาวอเมริกัน (เกิด 13 มีนาคม พ.ศ. 2517)[52]
- แอสตัน บาร์เร็ตต์ นักดนตรี นักแต่งเพลงและโปรดิวเซอร์และนักเรียบเรียงชาวจาเมกา (เกิด 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2489)[53]
- วี โชว เยา นักธุรกิจและนักลงทุนชาวไต้หวัน–สิงคโปร์ (เกิด 10 มกราคม พ.ศ. 2472)[54]
- เจ้าชายวิตตอรีโอ เอมานูเอเล เจ้าชายแห่งเนเปิลส์ พระราชโอรสในสมเด็จพระเจ้าอุมแบร์โตที่ 2 แห่งอิตาลี (ประสูติ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2480)[55]
- 4 กุมภาพันธ์ –
- สตีฟ ออสโตรว์ นักธุรกิจและนักกิจกรรมชาวอเมริกัน (เกิด 16 กันยายน พ.ศ. 2475)[56]
- ฮาเก เกนก็อบ ประธานาธิบดีนามิเบียและนายกรัฐมนตรีนามิเบีย (เกิด 3 สิงหาคม พ.ศ. 2484)[57]
- เคิร์ต ฮัมริน นักฟุตบอลชาวสวีเดน (เกิด 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2477)[58]
- แบร์รี จอห์น นักรักบี้ชาวเวลส์ (เกิด 6 มกราคม พ.ศ. 2488)[59]
- โลวิทยา โอโดโนฮิว ข้าราชการชาวออสเตรเลีย (เกิด 1 สิงหาคม พ.ศ. 2475)[60]
- บรูค เอลลิสัน นักวิชาการชาวอเมริกัน (เกิด 20 ตุลาคม พ.ศ. 2521)[61]
- บ็อบ เบ็ควิธ นักดับเพลิงชาวอเมริกัน (เกิด 16 เมษายน พ.ศ. 2475)[62]
- 5 กุมภาพันธ์ –
- โทบี คีธ นักร้อง นักแต่งเพลงและนักแสดงและโปรดิวเซอร์ชาวอเมริกัน (เกิด 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2504)[63]
- ไมเคิล เจย์สตัน นักแสดงชาวอังกฤษ (เกิด 29 ตุลาคม พ.ศ. 2478)[64]
- เริงชัย ประภาษานนท์ นักเขียนชาวไทยและศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ (เกิด 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2472)[65]
- พระราชจินดานายก (คำอ้าย สิริธมฺโม) เจ้าอาวาสวัดพระเจดีย์ซาวหลัง (เกิด 2 กันยายน พ.ศ. 2480)[66]
- ฉลามเพชร ศรพิชัย นักมวยชาวไทย[67]
- ยูเชนี ฟาน แอกต์–เครเคลเบิร์ก ภริยาของดรีส ฟัน อัคต์[68]
- ดรีส ฟัน อัคต์ นายกรัฐมนตรีเนเธอร์แลนด์ (เกิด 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2474)[69]
- 6 กุมภาพันธ์ –
- จอห์น บรูตัน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมและพลังงานไอร์แลนด์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังไอร์แลนด์และเอกอัครราชทูตสหภาพยุโรปประจำสหรัฐ (เกิด 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2490)[70]
- เซบาสเตียน ปิเญรา ประธานาธิบดีชิลี (เกิด 1 ธันวาคม พ.ศ. 2492)[71]
- โดนัลด์ คินซีย์ นักกีตาร์ นักร้องและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน (เกิด 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2496)[72]
- แอนโทนี่ เอปสเตน นักพยาธิวิทยาและนักวิชาการชาวอังกฤษ (เกิด 18 พฤษภาคม พ.ศ. 2464)[73]
- เซซิเลีย เจนติลี นักแสดงและนักกิจกรรมชาวอาร์เจนตินา–อเมริกัน (เกิด มกราคม พ.ศ. 2515)[74]
- เซจิ โอซาวะ วาทยกรชาวญี่ปุ่น (เกิด 1 กันยายน พ.ศ. 2478)[75]
- 7 กุมภาพันธ์ –
- อัลเฟรด กรอสเซอร์ นักสังคมวิทยา นักวิทยาศาสตร์และนักเขียนชาวเยอรมัน–ฝรั่งเศส (เกิด 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2468)[76]
- โมโจ นิกสัน พิธีกร นักดนตรีและนักแสดงชาวอเมริกัน (เกิด 2 สิงหาคม พ.ศ. 2500)[77]
- เฮนรี แฟมโบรห์ นักร้องชาวอเมริกัน (เกิด 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2481)[78]
- 8 กุมภาพันธ์ –
- เพียงใจ หาญพาณิชย์ ผู้ก่อตั้งบริษัทแลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน)[79]
- เศรษฐภัทร จีระกุลธนันต์ นักธุรกิจชาวไทย[80]
- 9 กุมภาพันธ์ –
- วิลเลียม บีเชอร์ นักข่าวและนักเขียนชาวอเมริกัน (เกิด 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2476)[81]
- รอแบร์ บาแดงแตร์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมฝรั่งเศส (เกิด 30 มีนาคม พ.ศ. 2471)[82]
- ดาโม ซูซูกิ นักดนตรีและนักร้องชาวญี่ปุ่น (เกิด 16 มกราคม พ.ศ. 2493)[83]
- จิมมี่ แวน อีตัน นักดนตรี นักร้องและนักแต่งเพลงชาวอเมริกัน (เกิด 23 ธันวาคม พ.ศ. 2480)[84]
- เฮอร์เบิร์ต วิกเว นายธนาคารและนักธุรกิจชาวไนจีเรีย (เกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2509)[85]
- 10 กุมภาพันธ์ –
- ดยุค วินเซนต์ นักเขียน โปรดิวเซอร์และผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ชาวอเมริกัน (เกิด 30 เมษายน พ.ศ. 2475)[86]
- วิลเลียม โพสต์ นักธุรกิจและนักประดิษฐ์ชาวอเมริกัน (เกิด 27 มิถุนายน พ.ศ. 2470)[87]
- บ็อบ มัวร์ นักธุรกิจและผู้ใจบุญชาวอเมริกัน (เกิด 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2472)[88]
- บ็อบ เอ็ดเวิร์ดส์ พิธีกรและนักข่าวชาวอเมริกัน (เกิด 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2490)[89]
- 11 กุมภาพันธ์ –
- แองเจลา เชา นักธุรกิจและผู้ใจบุญชาวอเมริกัน–จีน (เกิด 6 สิงหาคม พ.ศ. 2516)[90]
- เคลวิน คิปทัม นักวิ่งชาวเคนยา (เกิด 2 ธันวาคม พ.ศ. 2542)[91]
- 12 กุมภาพันธ์ –
- ฮิโรทาเกะ ยาโนะ นักธุรกิจชาวญี่ปุ่น–จีน (เกิด 19 เมษายน พ.ศ. 2486)[92]
- เดวิด บูลีย์ เชฟชาวอเมริกัน–ฝรั่งเศส (เกิด 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2496)[93]
- ชัค มาวินนีย์ นักปืนชาวอเมริกัน (เกิด 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492)[94]
มีนาคม
- 1 มีนาคม – ไอริส แอพเฟล นักธุรกิจ นักออกแบบและนางแบบชาวอเมริกัน (เกิด 29 สิงหาคม พ.ศ. 2464)[95]
- 2 มีนาคม –
- โซเรน ปาเป้ โพลเซ่น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรมเดนมาร์กและหัวหน้าพรรคประชาชนอนุรักษ์นิยมเดนมาร์ก (เกิด 31 ธันวาคม พ.ศ. 2514)[96]
- ฮาวเวิร์ด ไฮแอตต์ นักวิจัย นักการศึกษาและนักรณรงค์ชาวอเมริกัน (เกิด 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2468)[97]
- มาร์ค ดอดสัน นักพากย์ชาวอเมริกัน (เกิด 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2503)[98]
- จอห์น โอคาฟอร์ นักแสดงชาวไนจีเรีย (เกิด 17 ตุลาคม พ.ศ. 2504)[99]
- 3 มีนาคม –
- คริส มอร์เทนเซ่น นักข่าวและคอลัมนิสต์ชาวอเมริกัน (เกิด 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494)[100]
- เอ็ด อ๊อต นักเบสบอลและโค้ชชาวอเมริกัน (เกิด 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2494)[101]
- 20 มีนาคม -
- วินัย ไกรบุตร นักแสดงชาวไทย (เกิด 16 มิถุนายน พ.ศ. 2512)
เมษายน
- 1 เมษายน –
- ลู คอนเตอร์ ผู้บัญชาการทหารเรือสหรัฐและผู้รอดชีวิตจากการโจมตีเพิร์ล ฮาร์เบอร์ (เกิด 13 กันยายน พ.ศ. 2464)[102]
- วอนเต้ เดวิส นักฟุตบอลชาวอเมริกัน (เกิด 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2531)[103]
- ซามี ไมเคิล นักเขียนชาวอิสราเอล–อิรัก (เกิด 15 สิงหาคม พ.ศ. 2469)[104]
- โจ ฟลาเฮอร์ตี้ นักแสดงและนักเขียนชาวอเมริกัน (เกิด 21 มิถุนายน พ.ศ. 2484)[105]
- โธมัส ฟาร์ ทนายความชาวอเมริกัน (เกิด 24 ตุลาคม พ.ศ. 2497)[106]
- 2 เมษายน –
- ฮวน วิเซนเต้ เปเรซ คนงานก่อสร้างชาวเวเนซุเอลา (เกิด 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2452)[107]
- จอห์น บาร์ธ นักเขียนและนักวิชาการชาวอเมริกัน (เกิด 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2473)[108]
- แลร์รี ลุคชิโน ประธานาธิบดีบัลติมอร์ โอริโอลส์ ทนายความและผู้บริหารชาวอเมริกัน (เกิด 6 กันยายน พ.ศ. 2488)[109]
- มารีเซ่ คอนเต้ นักเขียนและนักวิจารณ์ชาวฝรั่งเศส (เกิด 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2477)[110]
- จอห์น ซินแคลร์ นักเขียน กวีและนักกิจกรรมชาวอเมริกัน (เกิด 2 ตุลาคม พ.ศ. 2484)[111]
- คริสโตเฟอร์ ดูรัง นักเขียนชาวอเมริกัน (เกิด 2 มกราคม พ.ศ. 2492)[112]
- 3 เมษายน –
- 4 เมษายน –
- อบู มาเรีย อัล–กอห์ตานี นักรบชาวอิรัก (เกิด 1 มิถุนายน พ.ศ. 2519)[116]
- โธมัส กัมเบิลตัน นักกิจกรรมชาวอเมริกัน (เกิด 26 มกราคม พ.ศ. 2473)[117]
- 8 เมษายน – ปีเตอร์ ฮิกส์ นักฟิสิกส์ชาวอังกฤษและผู้ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์ ประจำปี พ.ศ. 2556 (เกิด 29 พฤษภาคม พ.ศ. 2472)
พฤษภาคม
- 1 พฤษภาคม – ริชาร์ด แทนดี้ นักดนตรีและนักคีย์บอร์ดชาวอังกฤษ (เกิด 26 มีนาคม พ.ศ. 2491)[118]
- 3 พฤษภาคม – ดิ๊ก รูตัน ทหารชาวอเมริกัน (เกิด 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2481)[119]
- 4 พฤษภาคม –
- จูโร คารา นักเขียน นักแสดงและนักแต่งเพลงชาวญี่ปุ่น (เกิด 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2483)[120]
- บ็อบ อเวลลินี นักฟุตบอลชาวอเมริกัน (เกิด 28 สิงหาคม พ.ศ. 2496)[121]
- แฟรงค์ สเตลล่า จิตรกร ประติมากร สถาปนิก และช่างพิมพ์ชาวอเมริกัน (เกิด 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2479)[122]
- ดาเรียส มอร์ริส นักบาสเกตบอลชาวอเมริกัน (เกิด 3 มกราคม พ.ศ. 2534)[123]
- 5 พฤษภาคม –
- โอบี เอเซห์ นักฟุตบอลชาวอเมริกัน (เกิด 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2531)[124]
- เบอร์นาร์ด ฮิลล์ นักแสดงชาวอังกฤษ (เกิด 17 ธันวาคม พ.ศ. 2487)[125]
- จินนี่ เอปเปอร์ นักแสดงชาวอเมริกัน (เกิด 27 มกราคม พ.ศ. 2484)[126]
- อเล็กซานเดอร์ ปิลีเชนโก นักยกน้ำหนักชาวยูเครน (เกิด 7 มกราคม พ.ศ. 2537)[127]
- เซซาร์ ลุยส์ เมโนติ นักฟุตบอลและโค้ชชาวอาร์เจนตินา (เกิด 5 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481)[128]
- 6 พฤษภาคม –
- โจ คอลลิเออร์ โค้ชชาวอเมริกัน (เกิด 7 มิถุนายน พ.ศ. 2475)[129]
- 14 พฤษภาคม –
- พันเอกณรงค์ กิตติขจร สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (เกิด 21 ตุลาคม พ.ศ. 2476)[130]
- เนติพร เสน่ห์สังคม นักกิจกรรมชาวไทย (เกิด 8 สิงหาคม พ.ศ. 2538)[131]
- 19 พฤษภาคม –
- จิม ออตโต นักฟุตบอลชาวอเมริกัน (เกิด 5 มกราคม พ.ศ. 2481)[132]
- คริสเตียน มาลังกา ผู้นำพรรคยูไนเต็ดคองโก (เกิด 2 มกราคม พ.ศ. 2526)[133]
- เอบรอฮีม แรอีซี ประธานาธิบดีอิหร่าน (เกิด 14 ธันวาคม พ.ศ. 2503)[134]
มิถุนายน
- 1 มิถุนายน – ติน อู นักกิจกรรมชาวพม่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหมพม่าและผู้บัญชาการทหารสูงสุดพม่า (เกิด 11 มีนาคม พ.ศ. 2470)[135]
- 2 มิถุนายน –
- เดวิด เลวี รองนายกรัฐมนตรีอิสราเอล–โมร็อกโกและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศอิสราเอล–โมร็อกโก (เกิด 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480)[136]
- ร็อบ เบอร์โรว์ นักรักบี้และนักกิจกรรมชาวอังกฤษ (เกิด 26 กันยายน พ.ศ. 2525)[137]
- ลาร์รี อัลเลน นักฟุตบอลชาวอเมริกัน (เกิด 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514)[138]
- เจนิส เพจ นักแสดงและนักร้องชาวอเมริกัน (เกิด 16 กันยายน พ.ศ. 2465)[139]
- 3 มิถุนายน –
- ภารดา มาร์ควิส แร็ปเปอร์ชาวอเมริกัน (เกิด 4 เมษายน พ.ศ. 2509)[140]
- บริจิตต์ เบียร์ไลน์ นายกรัฐมนตรีออสเตรีย ประธานศาลรัฐธรรมนูญออสเตรียและรองประธานศาลรัฐธรรมนูญออสเตรีย (เกิด 25 มิถุนายน พ.ศ. 2492)[141]
- 6 มิถุนายน –
- พลเรือเอก นายแพทย์ หม่อมเจ้าปุสาณ สวัสดิวัตน์ พระอนุวงศ์ไทย (ประสูติ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2472)
- 20 มิถุนายน –
- โฉมฉาย ฉัตรวิไล นักแสดงและนักร้องหญิงชาวไทย (เกิด 31 ตุลาคม พ.ศ. 2493)
สิงหาคม
- 3 สิงหาคม – เพลิน พรหมแดน ศิลปินเพลงลูกทุ่งชาวไทย ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรีไทยลูกทุ่ง) พ.ศ. 2555 (เกิด 12 มิถุนายน พ.ศ. 2482)[142]
- 20 สิงหาคม - ชรินทร์ นันทนาคร ศิลปินนักร้องเพลงลูกกรุง นักแสดง ผู้กำกับและผู้อำนวยการสร้างภาพยนตร์ชาวไทย ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (เพลงไทยสากล-ขับร้อง) ประจำปี พ.ศ. 2541 (เกิด 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2476) [143]
กันยายน
- 13 กันยายน - ฉลอง ภักดีวิจิตร ผู้กำกับภาพยนตร์และผู้กำกับละครโทรทัศน์ชาวไทย ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ผู้กำกับภาพยนตร์) ประจำปี พ.ศ. 2556 (เกิด 18 มีนาคม พ.ศ. 2474)[144]
- 21 กันยายน - อรรคพันธ์ นะมาตร์ นักแสดงชาวไทย (เกิด 28 มกราคม พ.ศ. 2528)[145]
วันสำคัญทางศาสนาและพิธีกรรม
- 10 กุมภาพันธ์ – วันตรุษจีน
- 24 กุมภาพันธ์ – วันมาฆบูชา
- 24 กุมภาพันธ์ – วันศิลปินแห่งชาติ
- 13-15 เมษายน – สงกรานต์
- 10 พฤษภาคม – วันพืชมงคล
- 22 พฤษภาคม – วันวิสาขบูชา
- 20 กรกฎาคม – วันอาสาฬหบูชา
- 21 กรกฎาคม – วันเข้าพรรษา
- 17 ตุลาคม – วันออกพรรษา
- 15 พฤศจิกายน – วันลอยกระทง
- 25 ธันวาคม – วันคริสต์มาส
รางวัลโนเบล
- สาขาเคมี – เดวิด เบเกอร์, เดมิส ฮัสซาบิส และจอห์น เอ็ม. จัมเปอร์[146]
- สาขาวรรณกรรม – ฮัน คัง[147]
- สาขาสันติภาพ –
- สาขาฟิสิกส์ – จอห์น ฮอปฟิลด์ และเจฟฟรีย์ ฮินตัน[148]
- สาขาสรีรวิทยาหรือการแพทย์ – วิกเตอร์ แอมบรอส และแกรี รัฟกัน[149]
- สาขาเศรษฐศาสตร์ –
อ้างอิง
- หว่า แซ่อึ้ง, เลี๊ยกไฮ้ แซ่โอ้ว, ปฏิทิน 100 ปี เทียบ 3 ภาษา, (ไม่ทราบปีที่พิมพ์).
- ↑ 1.0 1.1 "2024 is the biggest election year in history". The Economist. 2023-11-13. สืบค้นเมื่อ 2024-01-04.
- ↑ Eric Bazail-Eimil (2024-01-01). "The global elections Washington should be watching in 2024". Politico. สืบค้นเมื่อ 2024-01-04.
- ↑ "Transcript: What will work look like in 2024?". Financial Times. 2023-12-26. สืบค้นเมื่อ 2024-01-01.
- ↑ Siladitya Ray (2024-01-03). "2024 Is The Biggest Election Year In History—Here Are The Countries Going To The Polls This Year". Forbes. สืบค้นเมื่อ 2024-01-04.
- ↑ "Rishi Sunak confirms election will be next year, despite legal right to wait until January 2025". Politics.co.uk. December 18, 2023.
- ↑ Mitchell, Archie (19 December 2023). "Rishi Sunak rules out a 2025 general election: '2024 will be an election year'". The Independent. สืบค้นเมื่อ 19 December 2023.
- ↑ "In 2024, It's Election Year in 40 Countries". Bloomberg (ภาษาอังกฤษ). November 1, 2023. สืบค้นเมื่อ December 3, 2023.
- ↑ Sharma, Shweta (August 24, 2023). "Brics countries agree major expansion as six countries invited to join". The Independent (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ August 24, 2023.
- ↑ Ebel, Francesca (28 September 2023). "Defeated by force, Nagorno-Karabakh government declares it will dissolve". The Washington Post. สืบค้นเมื่อ 28 September 2023.
- ↑ "M 7.5 - 42 km NE of Anamizu, Japan". United States Geological Survey. 1 January 2024. สืบค้นเมื่อ 1 January 2024.
- ↑ "Noto jishin, shisha 220-nin ni jūtaku higai wa 1 man 1 sen-mune chō" 能登地震、死者220人に 住宅被害は1万1千棟超 [Noto Earthquake: 220 dead, over 11,000 homes damaged]. Sanyo News (ภาษาญี่ปุ่น). 13 January 2024. สืบค้นเมื่อ 13 January 2024.
- ↑ Jozuka, Mayumi Maruyama, Teele Rebane, Tamara Hardingham-Gill, Emiko (2024-01-02). "Japan Airlines jet bursts into flames after collision with earthquake relief plane at Tokyo Haneda airport". CNN (ภาษาอังกฤษ).
- ↑ "Death toll in Islamic State-claimed suicide blasts rises to 91". AP News (ภาษาอังกฤษ). 2024-01-06. สืบค้นเมื่อ 2024-01-10.
- ↑ "Taiwan elects Lai Ching-te, from incumbent pro-sovereignty party, as president". The Guardian (ภาษาอังกฤษ). 2024-01-13. สืบค้นเมื่อ 2024-01-13.
- ↑ "Queen Margrethe II: Danish monarch announces abdication live on TV". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). 2023-12-31. สืบค้นเมื่อ 2023-12-31.
- ↑ ภูเขาไฟ "ไอซ์แลนด์" ปะทุรอบ 2 ธารลาวาทะลัก เสียชีวิต 1 คน
- ↑ "Japan makes contact with 'Moon Sniper' on lunar surface". BBC News. 19 January 2024. สืบค้นเมื่อ 19 January 2024.
- ↑ "Japan's 'Moon Sniper' made successful 'pin-point' landing, says space agency". France 24. 25 January 2024. สืบค้นเมื่อ 25 January 2024.
- ↑ "No survivors on plane Russia says was carrying 65 Ukrainian PoWs". BBC News. 24 January 2024. สืบค้นเมื่อ 24 January 2024.
- ↑ "Sultan Ibrahim takes oath as 17th Yang di-Pertuan Agong". The Star. 31 January 2024. สืบค้นเมื่อ 31 January 2024.
- ↑ Singh, Maanvi; Belam, Martin; Singh (now), Maanvi; Belam (earlier), Martin (2024-02-22). "Odysseus spacecraft successfully lands on the moon – live updates". the Guardian (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). ISSN 0261-3077. สืบค้นเมื่อ 2024-02-22.
- ↑ "Sweden officially joins NATO". NATO. 7 March 2024. สืบค้นเมื่อ 7 March 2024.
- ↑ "Sweden finally joins Nato after nearly two-year wait". The Guardian. 7 March 2024. สืบค้นเมื่อ 7 March 2024.
- ↑ "World's first major act to regulate AI passed by European lawmakers". CNBC. 14 March 2024. สืบค้นเมื่อ 13 March 2024.
- ↑ "Putin wins Russia election in landslide with no serious competition". Reuters. 18 March 2024. สืบค้นเมื่อ 18 March 2024.
- ↑ "Death toll from concert hall attack in Russia's Moscow region rises to 144". AA. March 29, 2024. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 30 March 2024. สืบค้นเมื่อ 29 March 2024.
- ↑ "Here's what you should know about the Key Bridge collapse". AP News (ภาษาอังกฤษ). 2024-03-28. สืบค้นเมื่อ 2024-03-27.
- ↑ "Bulgaria and Romania join the Schengen area". European Commission. 30 March 2024. สืบค้นเมื่อ 30 March 2024.
- ↑ “ฮวาเหลียน” สวิตเซอร์แลนด์ไต้หวัน เมืองท่องเที่ยวดังที่โดนแผ่นดินไหวบ่อย. MGR Online. สืบค้นเมื่อ 2024-04-03
- ↑ Where & When (ภาษาอังกฤษ), NASA, 2024-04-06, เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ April 8, 2024, สืบค้นเมื่อ April 8, 2024
- ↑ อิหร่านโจมตีอิสราเอล: เรารู้อะไรบ้าง ?
- ↑ พายุหนักพัดถล่มอ่าวเปอร์เซีย ยอดผู้เสียชีวิตในโอมานเพิ่มเป็น 18 ราย. ไทยโพสต์. สืบค้นเมื่อ 2024-04-16
- ↑ ฝรั่งเศสประกาศภาวะฉุกเฉินในนิวแคลิโดเนีย หลังเกิดจลาจลรุนแรงสุดในรอบ 40 ปี
- ↑ แผ่นดินไหวญี่ปุ่นขนาด 5.9 เขย่าซ้ำจุดเดิมเมื่อช่วงปีใหม่ ไม่มีการแจ้งเตือนสึนามิ. แนวหน้า. สืบค้นเมื่อ 2024-06-03.
- ↑ ยูเนสโกประกาศ "ภูพระบาท" เป็นมรดกโลก. Thai PBS. สืบค้นเมื่อ 2024-07-27.
- ↑ ญี่ปุ่นแผ่นดินไหว 7.1 เตือน "คนไทย" ทำตามคำสั่งอย่างเคร่งครัด. Thai PBS. สืบค้นเมื่อ 2024-08-08
- ↑ ญี่ปุ่นยกเลิกเตือนภัยแผ่นดินไหวครั้งใหญ่ หลังครบ 1 สัปดาห์ แผ่นดินไหวขนาด7.1. จส•100. สืบค้นเมื่อ 2024-08-15
- ↑ Lunar Eclipses: 2001 to 2100 เก็บถาวร 1999-02-02 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน - Fred Espenak/Jean Meeus, NASA/GSFC (อังกฤษ)
- ↑ Basdeo Panday, first person of Indian descent to lead Trinidad and Tobago, dies at 90
- ↑ isranews (2024-01-02). "ศ.คุณหญิง นงเยาว์ ชัยเสรี อดีตอธิการบดีมธ. ถึงแก่อนิจกรรม สิริอายุ 88 ปี". สำนักข่าวอิศรา.
- ↑ Sachin Nakrani (January 8, 2024). "Franz Beckenbauer, World Cup-winning captain and manager, dies aged 78". The Guardian. สืบค้นเมื่อ January 8, 2024.
- ↑ "เอฟซีอาลัย 'ต๊ะ ยมทูต' เจ้าของวลี เซ็ตหย่อ 2 ห่อใส่ไข่ เสียชีวิตแล้ว". มติชนออนไลน์. 1 February 2024. สืบค้นเมื่อ 1 February 2024.
- ↑ "Guillermo del Toro's Pinocchio co-director Mark Gustafson dies aged 64". The Guardian. 1 February 2024. สืบค้นเมื่อ 1 February 2024.
- ↑ "Carl Weathers, Actor from Rocky, Predator and Mandalorian, Dead at 76: 'An Exceptional Human Being'". People. 1 February 2024. สืบค้นเมื่อ 1 February 2024.
- ↑ "Gregory Charles Rivers, 58-year-old Australian actor who starred in Hong Kong TV dramas, found dead at his home". South China Morning Post. 2 February 2024. สืบค้นเมื่อ 2 February 2024.
- ↑ "Ian Lavender, the last serviving star of British sitcom 'Dad's Army,' has died". AP News. 2 February 2024. สืบค้นเมื่อ 2 February 2024.
- ↑ "Wayne Kramer, co-founder of revolutionary rock band the MC5, dead at 75". AP News. 2 February 2024. สืบค้นเมื่อ 2 February 2024.
- ↑ "Jonnie Irwin Dead at 50 from Lung Cancer: 'He Fought Bravely'". People. 2 February 2024. สืบค้นเมื่อ 2 February 2024.
- ↑ "Don Murray, Oscar nominee who once played opposite Marilyn Monroe, dies at 94: Reports". USA Today. 2 February 2024. สืบค้นเมื่อ 2 February 2024.
- ↑ ""Diva" film soprano Wilhelmenia Wiggins Fernandez Smith has died at 75". AP News. 2 February 2024. สืบค้นเมื่อ 2 February 2024.
- ↑ "Mike Gill, man shot in downtown D.C. in carjacking rampage, dies". Washington Post. 3 February 2024. สืบค้นเมื่อ 3 February 2024.
- ↑ "Former Dallas Cowboy Tony Hutson Dead at 49: 'Gone Too Soon'". People. 3 February 2024. สืบค้นเมื่อ 3 February 2024.
- ↑ "Aston Barrett, bassist for Bob Marley & The Wailers, dies at 77". USA Today. 3 February 2024. สืบค้นเมื่อ 3 February 2024.
- ↑ "Singapore banking tycoon Wee Cho Yaw, former UOB chairman, dies at 95". South China Morning Post. 3 February 2024. สืบค้นเมื่อ 3 February 2024.
- ↑ "Prince Vittorio Emanuele of Savoy, son of Italy's last king, dies aged 86". AP News. 3 February 2024. สืบค้นเมื่อ 3 February 2024.
- ↑ "Steve Ostrow, who founded famed NYC bathhouse the Continental Baths, dies at 91". AP News. 4 February 2024. สืบค้นเมื่อ 4 February 2024.
- ↑ "Namibia president and anti-apartheid activist Hage Geingob dies. He pushed for Africa on world stage". AP News. 4 February 2024. สืบค้นเมื่อ 4 February 2024.
- ↑ "Kurt Hamrin, Sweden great who was the last living player from the 1958 World Cup final, dies at 89". AP News. 4 February 2024. สืบค้นเมื่อ 4 February 2024.
- ↑ "Barry John, Welsh rugby great, dies at 79. Known as 'The King' because of his flyhalf wizardry". AP News. 4 February 2024. สืบค้นเมื่อ 4 February 2024.
- ↑ "Lowitja O'Donoghue, celebrated campaigner for Aboriginal Australians, dies aged 91". The Guardian. 4 February 2024. สืบค้นเมื่อ 4 February 2024.
- ↑ "Brooke Ellison, resilient disability rights activist, dies at 45". Washington Post. 4 February 2024. สืบค้นเมื่อ 4 February 2024.
- ↑ "9/11 Hero Bob Beckwith, Who Stood with President Bush in Iconic Ground Zero Photo, Dies at 91". People. 4 February 2024. สืบค้นเมื่อ 4 February 2024.
- ↑ "Toby Keith, country singer-songwriter, dies at 62 after stomach cancer diagnosis". AP News. 5 February 2024. สืบค้นเมื่อ 5 February 2024.
- ↑ "Only Fools and Horses actor Michael Jayston dies after 'short illness'". Sky News. 5 February 2024. สืบค้นเมื่อ 5 February 2024.
- ↑ ""เริงชัย ประภาษานนท์" ศิลปินแห่งชาติ 2562 นักเขียนผลงานอินทรีแดง เสียชีวิต วัย 94 ปี". ไทยพีบีเอส. 5 February 2024. สืบค้นเมื่อ 5 February 2024.
- ↑ "สิ้น พระราชจินดานายก มหาเถระเมืองลำปาง ละสังขารอย่างสงบ สิริอายุ 87 ปี". มติชนออนไลน์. 5 February 2024. สืบค้นเมื่อ 5 February 2024.
- ↑ "วงการมวยไทยสิ้น ฉลามเพชร ศรพิสัย เสียชีวิตก่อนขึ้นชกไม่กี่วัน". มติชนออนไลน์. 5 February 2024. สืบค้นเมื่อ 5 February 2024.
- ↑ "Former Dutch Prime Minister and Wife Die 'Together and Hand in Hand' at 93". People. 5 February 2024. สืบค้นเมื่อ 5 February 2024.
- ↑ "Former Dutch Prime Minister Dries van Agt and his wife die 'hand in hand' by euthanasia at age 93". AP News. 5 February 2024. สืบค้นเมื่อ 5 February 2024.
- ↑ "John Bruton, Irish leader who played a key role in Northern Ireland's peace process, dies at 76". AP News. 6 February 2024. สืบค้นเมื่อ 6 February 2024.
- ↑ "Former Chilean President Sebastián Piñera dies in a helicopter crach. He was 74". AP News. 6 February 2024. สืบค้นเมื่อ 6 February 2024.
- ↑ "Blues legend, Gary, Indiana native Donald Kinsey has died". Chicago. 6 February 2024. สืบค้นเมื่อ 6 February 2024.
- ↑ "Anthony Epstein, pathologist behind Epstein-Barr virus find, dies at 102". Washington Post. 6 February 2024. สืบค้นเมื่อ 6 February 2024.
- ↑ "Cecilia Gentili, Trans Activist and Pose Actress, Dies at 52: 'Rest in Power and Accomplishment'". People. 6 February 2024. สืบค้นเมื่อ 6 February 2024.
- ↑ "Acclaimed Japanese conductor Seiji Ozawa, who led the Boston Symphony Orchestra, dies at age 88". AP News. 6 February 2024. สืบค้นเมื่อ 6 February 2024.
- ↑ "Alfred Grosser, Champion of French-German Reconciliation, Dies at 99". The New York Times. 7 February 2024. สืบค้นเมื่อ 7 February 2024.
- ↑ "Mojo Nixon, radio host known for satirical hit 'Elvis is Everywhere,' dies at 66". USA Today. 7 February 2024. สืบค้นเมื่อ 7 February 2024.
- ↑ "Henry Fambrough, Last Surviving Original Member of the Spinners, Dead at 85". People. 7 February 2024. สืบค้นเมื่อ 7 February 2024.
- ↑ "เพียงใจ หาญพาณิชย์ ผู้ก่อตั้ง แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ เสียชีวิต อายุ 100 ปี". มติชนออนไลน์. February 8, 2024. สืบค้นเมื่อ February 8, 2024.
- ↑ "อาลัย 'เศรษฐภัทร จีระกุลธนันต์' นักธุรกิจใจบุญเมืองโคราช สิ้นใจอย่างสงบ". มติชนออนไลน์. February 8, 2024. สืบค้นเมื่อ February 8, 2024.
- ↑ "William Beecher, Who Revealed Secret Cambodia Bombing, Dies at 90". The New York Times. 9 February 2024. สืบค้นเมื่อ 9 February 2024.
- ↑ "Robert Badinter, who led France to end the death penalty and fought Holocaust denial, has died at 95". AP News. 9 February 2024. สืบค้นเมื่อ 9 February 2024.
- ↑ "Krautrock singer Damo Suzuki dies aged 74". The Guardian. 9 February 2024. สืบค้นเมื่อ 9 February 2024.
- ↑ "Jimmy Van Eaton, an early rock 'n' roll drummer who played at Sun Records, dies at 86". AP News. 9 February 2024. สืบค้นเมื่อ 9 February 2024.
- ↑ "Nigerian Bank CEO, Wife and Son Among 6 Killed in California Helicopter Crash: 'Overwhelming Tragedy'". People. 9 February 2024. สืบค้นเมื่อ 9 February 2024.
- ↑ "Duke Vincent, 'Dynasty' and 'Beverly Hills 90210' Producer, Dead at 91". People. 10 February 2024. สืบค้นเมื่อ 10 February 2024.
- ↑ "William Post, Credited with Inventing the Pop-Tart, Dead at 96". People. 10 February 2024. สืบค้นเมื่อ 10 February 2024.
- ↑ "Bob's Red Mill Founder Bob Moore Dead at 94: 'We Will Truly Miss His Energy'". People. 10 February 2024. สืบค้นเมื่อ 10 February 2024.
- ↑ "Longtime NPR 'Morning Edition' host Bob Edwards dies at age 76". AP News. 10 February 2024. สืบค้นเมื่อ 10 February 2024.
- ↑ "Angela Chao, Business Executive and Sister-in-Law of Mitch McConnell, Dead in Car Accident at Age 50". People. 11 February 2024. สืบค้นเมื่อ 11 February 2024.
- ↑ "Marathon World Record Holder Kelvin Kiptum Dead at 24 After Car Accident in Kenya: 'Devastating Loss'". People. 11 February 2024. สืบค้นเมื่อ 11 February 2024.
- ↑ "Founder of Japanese dollar-store chain Daiso dies; he was 80". AP News. 12 February 2024. สืบค้นเมื่อ 12 February 2024.
- ↑ "David Bouley, New York City chef known for his idiosyncratic approach to fine dining, dies at 70". AP News. 12 February 2024. สืบค้นเมื่อ 12 February 2024.
- ↑ "Chuck Mawhinney, deadliest sniper in US Marine Corps history, dies at 74". FOX News. 12 February 2024. สืบค้นเมื่อ 12 February 2024.
- ↑ "Iris Apfel, fashion icon who garnered social media fame in her later years, dies at 102". USA Today. 1 March 2024. สืบค้นเมื่อ 1 March 2024.
- ↑ "Danish Conservative People's Party leader Soren Pape Poulsen dies, party says". Reuters. 2 March 2024. สืบค้นเมื่อ 2 March 2024.
- ↑ "Howard Hiatt, champion of global public health, dies at 98". Washington Post. 2 March 2024. สืบค้นเมื่อ 2 March 2024.
- ↑ "Mark Dodson: Voice actor for 'Star Wars,' and 'Gremlins' dead at 64". New York Post. 2 March 2024. สืบค้นเมื่อ 2 March 2024.
- ↑ "Mr Ibu: Hollywood actor John Okafor dies in Lagos". BBC News. 2 March 2024. สืบค้นเมื่อ 2 March 2024.
- ↑ "Chris Mortensen, an award-winning ESPN reporter who covered the NFL, dies at 72". AP News. 3 March 2024. สืบค้นเมื่อ 3 March 2024.
- ↑ "Ed Ott, World Series-winning catcher with Pirates, dead at 72". New York Post. 3 March 2024. สืบค้นเมื่อ 3 March 2024.
- ↑ "Pearl Harbor Survivor Lou Conter, Last USS Arizona Crew Member, Dead at 102". People. 1 April 2024. สืบค้นเมื่อ 1 April 2024.
- ↑ "Former NFL Star Vontae David Found Dead at 35". People. 1 April 2024. สืบค้นเมื่อ 1 April 2024.
- ↑ "Sami Michael, Iraqi-born and award-winning Israeli author and activist, dies at 97". AP News. 1 April 2024. สืบค้นเมื่อ 1 April 2024.
- ↑ "'SCTV' star and comedian Joe Flaherty has died at 82 after an illness, his daughter says". AP News. 1 April 2024. สืบค้นเมื่อ 1 April 2024.
- ↑ "North Carolina redistricting attorney who fell short in federal confirmation fight dies at 69". AP News. 1 April 2024. สืบค้นเมื่อ 1 April 2024.
- ↑ "World's Oldest Man Dies Weeks Before His 115th Birthday". People. 2 April 2024. สืบค้นเมื่อ 2 April 2024.
- ↑ "John Barth, innovative postmodernist novelist, dies at 93". AP News. 2 April 2024. สืบค้นเมื่อ 2 April 2024.
- ↑ "Larry Lucchino, feisty force behind retro ballpark revolution and curse-busting Red Sox, dies at 78". AP News. 2 April 2024. สืบค้นเมื่อ 2 April 2024.
- ↑ "Maryse Conde, prolific 'grande dame' of Caribbean literature, dies at age 90". AP News. 2 April 2024. สืบค้นเมื่อ 2 April 2024.
- ↑ "John Sinclair, a marijuana activist who was immortalized in a John Lennon song, dies at 82". AP News. 2 April 2024. สืบค้นเมื่อ 2 April 2024.
- ↑ "Playwright Christopher Durang, a Tony winner for 'Vanya and Sonia and Masha and Spike,' dies at 75". AP News. 2 April 2024. สืบค้นเมื่อ 2 April 2024.
- ↑ "Italian jockey Stefano Cherchi, who rode more than 100 winners in UK, dies following Canberra fall". AP News. 3 April 2024. สืบค้นเมื่อ 3 April 2024.
- ↑ "Adrian Schiller, Victoria and The Last Kingdom Actor, Dead at 60". People. 3 April 2024. สืบค้นเมื่อ 3 April 2024.
- ↑ "Olympic Soccer Player Luke Fleurs Shot Dead at 24 in 'Hijacking Incident'". People. 3 April 2024. สืบค้นเมื่อ 3 April 2024.
- ↑ "Bombing kills co-founder of Syria's main al-Qaida-linked group, once known as Nusra Front". AP News. 4 April 2024. สืบค้นเมื่อ 4 April 2024.
- ↑ "Thomas Gumbleton, Detroit Catholic bishop who opposed war and promoted social justice, dies at 94". AP News. 4 April 2024. สืบค้นเมื่อ 4 April 2024.
- ↑ "ELO Keyboardist Richard Tandy Dead at 76". People. 1 May 2024. สืบค้นเมื่อ 1 May 2024.
- ↑ "Dick Rutan, co-pilot of historic round-the-world fight, dies at 85". AP News. 3 May 2024. สืบค้นเมื่อ 3 May 2024.
- ↑ "Juro Kara, rebel playwright behind Japan's modern underground theater, dies at 84". AP News. 4 May 2024. สืบค้นเมื่อ 4 May 2024.
- ↑ "Bob Avellini, quarterback who teamed with Walter Payton to lead Bears to 1977 playoffs, dies at 70". AP News. 4 May 2024. สืบค้นเมื่อ 4 May 2024.
- ↑ "Frank Stella, artist renowned for blurring the lines between painting and sculpture, dies at 87". AP News. 4 May 2024. สืบค้นเมื่อ 4 May 2024.
- ↑ "Former NBA Player Darius Morris Dead at 33". People. 4 May 2024. สืบค้นเมื่อ 4 May 2024.
- ↑ "Former Michigan Football Linebacker Obi Ezeh Dead at 36: 'You Will Always Be in My Heart'". People. 5 May 2024. สืบค้นเมื่อ 5 May 2024.
- ↑ "Bernard Hill, Who Starred as the Captain in Titanic Dead at 79: 'Blazed a Trail Across the Screen'". People. 5 May 2024. สืบค้นเมื่อ 5 May 2024.
- ↑ "Jeannie Epper, Iconic Stuntwoman Who Doubled for Lynda Carter on Wonder Woman, Dead at 83". People. 5 May 2024. สืบค้นเมื่อ 5 May 2024.
- ↑ "Ukrainian Olympic Weightlifter Dead at 30 While Fighting on Frontlines of Russia-Ukraine War". People. 5 May 2024. สืบค้นเมื่อ 5 May 2024.
- ↑ "César Luis Menotti, coach who led Argentina to its first World Cup title in 1978, dies at 85". AP News. 5 May 2024. สืบค้นเมื่อ 5 May 2024.
- ↑ "Joe Collier, former Bills head coach and architect of Broncos' 'Orange Crush' defense, dies at 91". AP News. 6 May 2024. สืบค้นเมื่อ 6 May 2024.
- ↑ ""พันเอกณรงค์ กิตติขจร" บุตรชาย "จอมพลถนอม" เสียชีวิตแล้ว". พีพีทีวี. 14 May 2024. สืบค้นเมื่อ 14 May 2024.
- ↑ "A monarchy reform activist in Thailand dies in detention after a monthslong hunger strike". AP News. 14 May 2024. สืบค้นเมื่อ 14 May 2024.
- ↑ "Jim Otto, Oakland Raiders Football Center and NFL Hall of Famer, Dead at 86". People. 19 May 2024. สืบค้นเมื่อ 19 May 2024.
- ↑ "Americans in alleged Congo coup plot formed an unlikely band". AP News. 19 May 2024. สืบค้นเมื่อ 19 May 2024.
- ↑ "Iranian President Ebrahim Raisi, supreme leader's protege, dies at 63 in helicopter crash". AP News. 19 May 2024. สืบค้นเมื่อ 19 May 2024.
- ↑ "Tin Oo, a close ally of Myanmar's Suu Kyi and co-founder of her pro-democracy party, dies at 97". AP News. 1 June 2024. สืบค้นเมื่อ 1 June 2024.
- ↑ "David Levy, Moroccan-born ex-foreign minister of Israel, dies at 86". AP News. 2 June 2024. สืบค้นเมื่อ 2 June 2024.
- ↑ "Rugby star and ALS campaigner Rob Burrow dies at age 41". AP News. 2 June 2024. สืบค้นเมื่อ 2 June 2024.
- ↑ "Larry Allen, Retired Dallas Cowboys Hall of Fame Player, Dead at 52 While on Vacation in Mexico with Family". People. 2 June 2024. สืบค้นเมื่อ 2 June 2024.
- ↑ "Janis Paige, Hollywood and Broadway Star Who Worked with Fred Astaire and Bob Hope, Dead at 101". People. 2 June 2024. สืบค้นเมื่อ 2 June 2024.
- ↑ "2 Live Crew Rapper Brother Marquis Dead at 58". People. 3 June 2024. สืบค้นเมื่อ 3 June 2024.
- ↑ "Brigitte Bierlein, Austria's first woman chancellor, dies at 74". AP News. 3 June 2024. สืบค้นเมื่อ 3 June 2024.
- ↑ "วงการเพลงเศร้า สิ้น เพลิน พรหมแดน ศิลปินแห่งชาติ ราชาเพลงพูด สิริอายุ 85 ปี". มติชน. 3 สิงหาคม 2024. สืบค้นเมื่อ 3 สิงหาคม 2024.
{{cite news}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ "สิ้น "ชรินทร์ นันทนาคร" ศิลปินแห่งชาติเจ้าของเพลงหยาดเพชร". ทีนิวส์. 20 สิงหาคม 2024. สืบค้นเมื่อ 20 สิงหาคม 2024.
{{cite news}}
: CS1 maint: url-status (ลิงก์) - ↑ วงการบันเทิงสูญเสีย "ฉลอง ภักดีวิจิตร" ผู้กำกับตำนานบู๊เมืองไทย
- ↑ ""อ๋อม อรรคพันธ์" พระเอกชื่อดังเสียชีวิตแล้ว หลังป่วยด้วยโรคมะเร็ง". สนุก.คอม. 22 กันยายน 2024. สืบค้นเมื่อ 22 กันยายน 2024.
- ↑ "The Nobel Prize in Chemistry 2024". Nobelprize.org. สืบค้นเมื่อ October 9, 2024.
- ↑ "The Nobel Prize in Literature 2024". Nobelprize.org. สืบค้นเมื่อ October 10, 2024.
- ↑ "The Nobel Prize in Physics 2024". Nobelprize.org. สืบค้นเมื่อ October 8, 2024.
- ↑ "The Nobel Prize in Physiology or Medicine 2024". Nobelprize.org. สืบค้นเมื่อ October 7, 2024.