ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การชักจูงทางจิตวิทยา"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: ลิงก์แก้ความกำกวม
 
บรรทัด 3: บรรทัด 3:


การครอบงำทางจิตวิทยาเป็นการใช้[[อิทธิพลทางสังคม]]รูปแบบหนึ่ง ซึ่งอาจเกิดขึ้นเพราะความหวังดีก็ได้ เช่น การที่แพทย์ หรือสมาชิกในครอบครัว พยายามโน้มน้าว หรือหว่านล้อมชักจูงบุคคลให้เปลี่ยนพฤติกรรม หรือแก้ไขลักษณะนิสัยที่ไม่ดีของตน
การครอบงำทางจิตวิทยาเป็นการใช้[[อิทธิพลทางสังคม]]รูปแบบหนึ่ง ซึ่งอาจเกิดขึ้นเพราะความหวังดีก็ได้ เช่น การที่แพทย์ หรือสมาชิกในครอบครัว พยายามโน้มน้าว หรือหว่านล้อมชักจูงบุคคลให้เปลี่ยนพฤติกรรม หรือแก้ไขลักษณะนิสัยที่ไม่ดีของตน
{{Psychological manipulation}}

[[หมวดหมู่:การเสแสร้ง]]
[[หมวดหมู่:การเสแสร้ง]]
[[หมวดหมู่:พฤติกรรมมนุษย์]]
[[หมวดหมู่:พฤติกรรมมนุษย์]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 09:19, 13 มิถุนายน 2566

การชักจูงทางจิตวิทยา หรือ การครอบงำทางจิตวิทยา (อังกฤษ: psychological manipulation) เป็นวิธีที่ใช้ความสัมพันธ์เชิงอิทธิพล หรืออำนาจเพื่อนำไปสู่การครอบงำทางพฤติกรรม หรือทางความคิดต่อบุคคลใดๆ ในลักษณะที่ขัดต่อความสมัครใจ หรือโดยไม่ได้รับความยินยอมจากบุคคลนั้น เพื่อประโยชน์ของฝ่ายผู้ครอบงำ วิธีที่ผู้ครอบงำ (manipulator) ใช้บิดเบือน หรือชักจูงการรับรู้สภาวะความจริง อาจเป็นการใช้ผลรายงานที่ฉ้อฉล การชี้ชวน การโน้มน้าว หรือการล่อลวงอย่างอื่นๆ รวมไปถึงทำให้ยอมศิโรราบไม่ว่าจะโดยการบังคับข่มเหง (abuse) หรือโดยสมัครใจ

การครอบงำทางจิตวิทยาเป็นการใช้อิทธิพลทางสังคมรูปแบบหนึ่ง ซึ่งอาจเกิดขึ้นเพราะความหวังดีก็ได้ เช่น การที่แพทย์ หรือสมาชิกในครอบครัว พยายามโน้มน้าว หรือหว่านล้อมชักจูงบุคคลให้เปลี่ยนพฤติกรรม หรือแก้ไขลักษณะนิสัยที่ไม่ดีของตน