ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฉ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
เพิ่มเนื้อหา: ไม่มีตัว ฉ ฉิ่งสะกด
ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 3: บรรทัด 3:
'''ฉ''' เป็น[[พยัญชนะ]]ตัวที่ 9 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของ[[อักษรไทย]] ในลำดับถัดจาก [[จ]] และก่อนหน้า [[ช]] จัดอยู่ในกลุ่ม[[อักษรสูง]] ในระบบ[[ไตรยางศ์]] มีชื่อเรียกกำกับว่า "ฉ ฉิ่ง"
'''ฉ''' เป็น[[พยัญชนะ]]ตัวที่ 9 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของ[[อักษรไทย]] ในลำดับถัดจาก [[จ]] และก่อนหน้า [[ช]] จัดอยู่ในกลุ่ม[[อักษรสูง]] ในระบบ[[ไตรยางศ์]] มีชื่อเรียกกำกับว่า "ฉ ฉิ่ง"


อักษร ฉ ในภาษาไทยปรากฏเป็น[[พยัญชนะต้น]] โดยใช้แทนเสียง {{IPA|[t͡ɕʰ]}}
อักษร ฉ ในภาษาไทยปรากฏเป็น[[พยัญชนะต้น]]เท่านั้น โดยใช้แทนเสียง {{IPA|[t͡ɕʰ]}} ไม่มีในตำแหน่งตัวสะกด
ฉ เพียงตัวเดียว สามารถเป็นคำได้หนึ่งคำ อ่านว่า ฉอ, ฉ้อ, ฉะ แปลว่า "หก" เป็นบทหน้าประกอบคำบาลี

ฉ เพียงตัวเดียว สามารถเป็นคำได้หนึ่งคำ อ่านว่า ฉอ, ฉ้อ, ฉะ แปลว่า "หก" เป็นปัจจัยประกอบคำบาลี


[[หมวดหมู่:อักษรไทย]]
[[หมวดหมู่:อักษรไทย]]

รุ่นแก้ไขเมื่อ 10:57, 3 กันยายน 2565

อักษรไทย
รูปพยัญชนะ
รูปสระ
–ั –ํ –ิ ' "
–ุ –ู –็
ฤๅ ฦๅ
รูปวรรณยุกต์
–่ –้ –๊ –๋
เครื่องหมายอื่น ๆ
–์ –๎ –ฺ
เครื่องหมายวรรคตอน
ฯลฯ

เป็นพยัญชนะตัวที่ 9 ในบรรดาพยัญชนะ 44 ตัวของอักษรไทย ในลำดับถัดจาก และก่อนหน้า จัดอยู่ในกลุ่มอักษรสูง ในระบบไตรยางศ์ มีชื่อเรียกกำกับว่า "ฉ ฉิ่ง"

อักษร ฉ ในภาษาไทยปรากฏเป็นพยัญชนะต้นเท่านั้น โดยใช้แทนเสียง [t͡ɕʰ] ไม่มีในตำแหน่งตัวสะกด ฉ เพียงตัวเดียว สามารถเป็นคำได้หนึ่งคำ อ่านว่า ฉอ, ฉ้อ, ฉะ แปลว่า "หก" เป็นบทหน้าประกอบคำบาลี