ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Escarbot (คุย | ส่วนร่วม)
r2.7.2+) (โรบอต แก้ไข: mwl:Declaraçon Ounibersal de ls Dreitos Houmanos
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
ป้ายระบุ: ย้อนด้วยมือ
 
(ไม่แสดง 36 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 25 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{Infobox document
{{รอการตรวจสอบ}}
|document_name = ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
{{ปรับภาษา}}
|image = EleanorRooseveltHumanRights.png
{{ย้ายไปวิกิซอร์ซ}}
|image_width = 200px
|image_caption = {{longitem|[[เอลีนอร์ โรสเวลต์]]ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนภาษาอังกฤษ}}
|image = Eleanor Roosevelt UDHR.jpg


|image2 = The universal declaration of human rights 10 December 1948.jpg
[[ไฟล์:Eleanor Roosevelt and Human Rights Declaration.jpg|thumb|250px|Eleanor Roosevelt & ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (1949)]]
|image2_caption = สิทธิมนุษยชนที่สมัชชาสหประชาชาติลงมติรับในสมัยประชุมที่ 183 จัดขึ้น ณ กรุงปารีส ในวันที่ 10 ธันวาคม 1948
|date_created = 1948
|date_ratified = 10 ธันวาคม ค.ศ. 1948
|location_of_document = [[ปาแลเดอชาโย]]
|writer = [[Drafting of the Universal Declaration of Human Rights|คณะกรรมการร่าง]]{{efn|Included [[John Peters Humphrey]] (Canada), [[René Cassin]] (France), [[P. C. Chang]] (Republic of China), [[Charles Malik]] (Lebanon), [[Hansa Mehta]] (India) and [[Eleanor Roosevelt]] (United States); see [[#Creation and drafting|Creation and drafting]] section above.}}
|purpose = [[สิทธิมนุษยชน]]
| wikisource = Universal Declaration of Human Rights
}}
{{ใช้ปีคศ}}


'''ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน''' (Universal Declaration of Human Rights หรือ UDHR) คือการประกาศเจตนารมณ์ในการร่วมมือระหว่างประเทศที่มีความสำคัญในการวางกรอบเบื้องต้นเกี่ยวกับ[[สิทธิมนุษยชน]] และเป็นเอกสารหลักด้านสิทธิมนุษยชนฉบับแรก ซึ่งที่ประชุม[[สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ]] ให้การรับรองตามข้อมติที่ 217 A (III) เมื่อวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2491 โดยประเทศไทยออกเสียงสนับสนุน
'''ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน''' ({{lang-en|Universal Declaration of Human Rights}} หรือ UDHR) เป็นเอกสารระหว่างประเทศที่เชิดชูสิทธิเสรีภาพของมนุษย์ทั้งปวง สมัชชาสหประชาชาติยอมรับตามข้อมติที่ 217 ในสมัยประชุมที่สาม วันที่ 10 ธันวาคม 1948 ณ [[ปาแลเดอชาโย]] ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส<ref name=":0">{{Cite web|date=2015-09-02|title=Human Rights Law|url=https://www.un.org/en/sections/universal-declaration/human-rights-law/index.html|access-date=2020-08-20|website=www.un.org|language=en}}</ref>


เอกสารนี้ถือเป็นข้อความรากฐานในประวัติศาสตร์[[สิทธิมนุษยชน]]และ[[สิทธิพลเมือง]] ปฏิญญาฯ มีเนื้อหา 30 ข้อที่ลงรายละเอียด "สิทธิขั้นพื้นฐานและเสรีภาพมูลฐาน" ของปัจเจก และยืนยันลักษณะสากลของสิทธิเสรีภาพเหล่านี้ว่าเป็นสิทธิติดตัวมาแต่กำเนิด ไม่อาจโอนให้แก่กันได้ และใช้กับมนุษย์ทุกคน<ref name=":0" /> UDHR ผูกมัดประชาชาติให้รับรองมนุษย์ทุกคนว่าเกิดมามีอิสระและมีศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน โดยไม่คำนึงถึงเชื้อชาติ ถิ่นพำนัก เพศ ชาติหรือชาติพันธุ์กำเนิด สีผิว ศาสนา ภาษาหรือสถานภาพอื่น<ref>[https://www.un.org/en/udhrbook/pdf/udhr_booklet_en_web.pdf UDHR Booklet], Art. 2.</ref> นับเป็นแรงบันดาลใจโดยตรงแก่การกำเนิดของ[[กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ]]
== ความเป็นมาที่ปรากฏในคำปรารภ ==


แม้ว่าตัวปฏิญญาฯ เองไม่มีผลผูกพันตามกฎหมาย แต่เนื้อหาของปฏิญญาฯ ได้มีการอธิบายเพิ่มเติมและรวมเข้าอยู่ในสนธิสัญญาระหว่างประเทศ ตราสารสิทธิมนุษยชนระดับภูมิภาค และรัฐธรรมนูญและประมวลกฎหมายของชาติต่าง ๆ ในเวลาต่อมา<ref name=":0" /> รัฐสมาชิกสหประชาชาติทั้ง 193 รัฐได้ให้สัตยาบันแก่สนธิสัญญาที่มีผลผูกพันอย่างน้อย 1 ใน 9 ฉบับซึ่งได้รับอิทธิพลจากปฏิญญาฯ และส่วนใหญ่ให้สัตยาบันแก่สนธิสัญญาจำนวนนี้อย่างน้อย 4 ฉบับหรือกว่านั้น นักวิชาการกฎหมายบางคนให้เหตุผลว่าการใช้ปฏิญญาฯ ดังกล่าวเป็นเวลา 50 ปีขึ้นไปน่าจะถือได้ว่ามีผลผูกพันเป็นกฎหมายระหว่างประเทศจารีตประเพณีแล้ว<ref>Henry J Steiner and Philip Alston, International Human Rights in Context: Law, Politics, Morals, (2nd ed), [[Oxford University Press]], Oxford, 2000.</ref><ref>Hurst Hannum, [https://cdn2.sph.harvard.edu/wp-content/uploads/sites/13/2014/04/16-Hannum.pdf The universal declaration of human rights in National and International Law], p.145</ref> แม้ว่าศาลในบางประเทศยังคงจำกัดผลลัพธ์ทางกฎหมายอยู่<ref>{{Cite news|last=Posner|first=Eric|date=2014-12-04|title=The case against human rights {{!}} Eric Posner|language=en-GB|work=The Guardian|url=https://www.theguardian.com/news/2014/dec/04/-sp-case-against-human-rights|access-date=2020-01-22|issn=0261-3077}}</ref><ref name=":1">''Sosa v. Alvarez-Machain'', 542 U.S. 692, 734 (2004).</ref> กระนั้น UDHR ได้มีอิทธิพลต่อการพัฒนาทางกฎหมาย การเมืองและสังคมทั้งในระดับโลกและประเทศ และมีความสำคัญจากการแปล 524 สำนวน ซึ่งมากกว่าเอกสารใด ๆ ในประวัติศาสตร์<ref>{{Cite web|title=OHCHR {{!}} Universal Declaration of Human Rights Main|url=https://www.ohchr.org/EN/UDHR/Pages/UDHRIndex.aspx|access-date=2020-08-20|website=www.ohchr.org}}</ref>
"ด้วยเหตุที่การยอมรับศักดิ์ศรีประจำตัว และสิทธิซึ่งเสมอกันและไม่อาจโอนแก่กันได้ ของสมาชิกทั้งปวงแห่งครอบครัวมนุษย์เป็นรากฐานของเสรีภาพ ความยุติธรรม และสันติภาพในพิภพ


== โครงสร้าง ==
ด้วยเหตุที่การเมินเฉย และดูหมิ่นเหยียดหยามสิทธิมนุษยชนได้ก่อให้เกิดการอันป่าเถื่อนโหดร้ายทารุณ ซึ่งได้กระทบกระเทือนมโนธรรมของมนุษยชาติอย่างรุนแรง และโดยเหตุที่ได้มีการประกาศปณิธานอันสูงสุดของสามัญชนว่าถึงวาระแห่งโลกแล้วที่มนุษย์จะมีเสรีภาพในการพูดและในความเชื่อถือ รวมทั้งมีเสรีภาพจากความกลัวและความต้องการ
โครงสร้างพื้นเดิมของปฏิญญาฯ ได้รับอิทธิพลจาก[[ประมวลกฎหมายนโปเลียน]] ซึ่งมีอารัมภบทและหลักการทั่วไปในบทนำ<ref>{{harvnb|Glendon|2002|pp=62–64}}.</ref> โครงสร้างสุดท้ายมีรูปมาจากฉบับร่างที่สองที่เตรียมโดยนักนิติศาสตร์ชาวฝรั่งเศส René Cassin ซึ่งทำงานต่อจากฉบับร่างแรกที่เตรียมโดยนักวิชาการกฎหมายชาวแคนาดา จอห์น ปีเตอส์ ฮัมฟรี


ปฏิญญาฯ มีเนื้อหาต่อไปนี้:
ด้วยเหตุที่เป็นสิ่งจำเป็นสิทธิมนุษยชนควรได้รับความคุ้มครองโดยหลักนิติธรรม ถ้าไม่พึงประสงค์ให้มนุษย์ต้องถูกบีบบังคับให้หาทางออก โดยการกบฏต่อทรราชและการกดขี่อันเป็นที่พึ่งแห่งสุดท้าย
* อารัมภบทระบุสาเหตุทางประวัติศาสตร์และสังคมซึ่งนำไปสู่ความจำเป็นของการร่างปฏิญญาฯ
* ข้อ 1–2 กำหนดมโนทัศน์พื้นฐานของศักดิ์ศรี เสรีภาพและความเสมอภาค
* ข้อ 3–5 กำหนดสิทธิปัจเจกอื่น เช่น สิทธิในการมีชีวิต และการห้ามมีทาสและการทรมาน
* ข้อ 6–11 เล่าถึงความชอบด้วยกฎหมายมูลฐานของสิทธิมนุษยชนและการเยียวยาหากมีการละเมิดสิทธิเหล่านั้น
* ข้อ 12–17 กำหนดสิทธิของปัจเจกต่อชุมชน รวมทั้งเสรีภาพในการเดินทาง (freedom of movement)
* ข้อ 18–21 อนุมัติ "เสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ" และเสรีภาพทางจิตวิญญาณ สาธารณะและการเมือง เช่น เสรีภาพทางความคิด ความเห็น ศาสนาและสำนึก คำและการรวมกลุ่มอย่างสันติของปัจเจก
* ข้อ 22–27 อนุมัติสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของปัจเจก รวมทั้งบริการสาธารณสุข ย้ำถึงสิทธิอย่างกว้างขวางในมาตรฐานการครองชีพ กำหนดการอำนวยความสะดวกเพิ่มเติมในกรณีร่างกายทรุดโทรมหรือทุพพลกายทางกาย และกล่าวถึงเป็นพิเศษแก่การดูแลแก่ผู้เป็นมารดาและบุตร
* ข้อ 28–30 กำหนดวิธีการทั่วไปสำหรับใช้สิทธิเหล่านี้ ขอบเขตที่สิทธิของปัจเจกใช้ไม่ได้ หน้าที่ของปัจเจกต่อสังคม และการห้ามใช้สิทธิที่เป็นการฝ่าฝืนความมุ่งประสงค์ขององค์การสหประชาชาติ


== เชิงอรรถ ==
ด้วยเหตุที่ประดาประชาชนแห่งสหประชาชาติได้ยืนยันไว้ในกฎบัตรถึงความเชื่อมั่นในสิทธิมนุษย์ชนขั้นพื้นฐานในศักดิ์ศรีและคุณค่าของตัวบุคคล และในความเสมอกันแห่งสิทธิของ ทั้งชายและหญิง และได้ตัดสินใจที่จะส่งเสริมความก้าวหน้าทางสังคมตลอดจนมาตรฐานแห่งชาติให้ดีขึ้น ได้มีเสรีภาพมากขึ้น
{{Notelist}}


== อ้างอิง ==
ด้วยเหตุที่รัฐสมาชิกได้ปฏิญาณที่จะให้ได้มา โดยร่วมมือกับสหประชาชาติ ซึ่งการส่งเสริมการเคารพและการถือปฏิบัติโดยสากลต่อสิทธิมนุษยชนและเสรีภาพขั้นพื้นฐาน
{{รายการอ้างอิง}}

ด้วยเหตุที่ความเข้าใจตรงกันในเรื่องสิทธิและเสรีภาพมีความสำคัญยิ่งเพื่อให้ปฏิญาณนี้เกิดสัมฤทธิผลอย่างเต็มเปี่ยม

ดังนั้น บัดนี้

สมัชชาจึงประกาศให้

ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนนี้เป็นมาตรฐานร่วมกันแห่งความสำเร็จ สำหรับประชาชนทั้งหลายและประชาชาติทั้งปวง ด้วยจุดประสงค์ที่จะให้ปัจเจกบุคคลทุกผู้ทุกนามและองค์กรของสังคมทุกหน่วย โดยการระลึกเสมอ ๆ ถึงปฏิญญานี้ พยายามสั่งสอนและให้การสอนและให้การศึกษาเพื่อส่งเสริมการเคารพต่อสิทธิและเสรีภาพเหล่านี้ และด้วยมาตรฐานที่เจริญก้าวหน้าไปข้างหน้า ทั้งในและระหว่างประเทศ เพื่อให้ได้มาซึ่งการยอมรับและการถือปฏิบัติต่อสิทธิเหล่านั้นสากลและได้ผลทั้งในหมู่ประชาชนของรัฐสมาชิกเอง และในหมู่ประชาชนแห่งดินแดนที่อยู่ภายใต้ดุลอาณาของรัฐสมาชิกดังกล่าว"

== เนื้อหาของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ==

นอกจากเจตนารมณ์ที่ปรากฏในคำปรารภของปฏิญญา หลักการเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนสำคัญ 30 ประการที่ปรากฏในปฏิญญาได้แก่

# มนุษย์ทั้งหลายเกิดมาอิสระเสรีและเท่าเทียมกันทั้งศักดิ์ศรีและสิทธิทุกคนได้รับการประสิทธิประสาทเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบัติต่อกันอย่างฉันพี่น้อง
# บุคคลชอบที่จะมีสิทธิและเสรีภาพประดาที่ระบุไว้ในปฏิญาณนี้ ทั้งนี้โดยไม่มีการจำแนกความแตกต่างในเรื่องใดๆ เช่น เชื้อชาติ สีผิว เพศ ภาษา ศาสนา ความเห็นทางการเมือง หรือทางอื่นใด ชาติหรือสังคมอันเป็นที่มาเดิม ทรัพย์สิน กำเนิด หรือสถานะอื่นใด นอกจากนี้การจำแนกข้อแตกต่างโดยอาศัยมูลฐานแห่งสถานะทางการเมืองทางดุลอาณาหรือทางเรื่องระหว่างประเทศของประเทศ หรือดินแดนซึ่งบุคคลสังกัดจะทำมิได้ ทั้งนี้ไม่ว่าดินแดนดังกล่าวจะเป็นเอกราชอยู่ในความพิทักษ์ มิได้ปกครองตนเองหรืออยู่ภายใต้การจำกัดแห่งอธิปไตยอื่นใด
# บุคคลมีสิทธิในการดำรงชีวิต ในเสรีธรรมและในความมั่นคงแห่งร่างกาย
# บุคคลใดจะถูกบังคับให้เป็นทาส หรืออยู่ภาระจำยอมใดๆ มิได้การเป็นทาสและการค้าทาสจะมีไม่ได้ในทุกรูปแบบ
# บุคคลใดจะถูกทรมาน หรือได้รับการปฏิบัติ หรือการลงทัณฑ์ซึ่งทารุณโหดร้ายไร้มนุษยธรรมหรือหยามเกียรติมิได้
# ทุกๆ คนมีสิทธิที่จะได้รับการยอมรับว่าเป็นบุคคลในกฎหมายไม่ว่า ณ ที่ใด
# ทุกๆ คนต่างเสมอกันในกฎหมายและชอบที่จะได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกันโดยปราศจากการเลือกปฏิบัติใดๆ ทุกๆ คนชอบที่จะได้รับการคุ้มครองอย่างเสมอหน้าจากการเลือกปฏิบัติใดๆ อันเป็นการล่วงละเมิดปฏิญญานี้ และต่อการยุยงส่งเสริมให้เกิดการเลือกปฏิบัติเช่นนั้น
# บุคคลมีสิทธิที่จะได้รับการเยียวยาอย่างได้ผลโดยศาลแห่งชาติ ซึ่งมีอำนาจเนื่องจากการกระทำใดๆ อันละเมิดต่อสิทธิขั้นมูลฐาน ซึ่งตนได้รับจากรัฐธรรมนูญหรือจากกฎหมาย
# บุคคลใดจะถูกจับ กักขัง หรือเนรเทศโดยพลการมิได้
# บุคคลชอบที่จะเท่าเทียมกันอย่างบริบูรณ์ในอันที่จะได้รับการพิจารณาอย่างเป็นธรรมและเปิดเผยโดยศาลซึ่งเป็นอิสระและไร้อคติ ในการวินิจฉัยชี้ขาดสิทธิและหน้าที่ ตลอดจนข้อที่ตนถูกกล่าวหาใดๆ ทางอาญา
# (1) บุคคลซึ่งถูกกล่าวหาด้วยความผิดทางอาญา มีสิทธิที่จะได้รับการสันนิฐานไว้ก่อนว่าบริสุทธิ์จนกว่าจะมีการพิสูจน์ว่ามีความผิดตามกฎหมายในการพิจารณาโดยเปิดเผย ณ ที่ซึ่งตนได้รับหลักประกันทั้งหมดที่จำเป็นในการต่อสู้คดี (2) บุคคลใดจะถูกถือว่ามีความผิดอันมีโทษทางอาญาใดๆ ด้วยเหตุผลที่ตนได้กระทำ หรือ และเว้นการกระทำการใดๆ ซึ่งกฎหมายของประเทศหรือกฎหมายระหว่างประเทศ ในขณะที่มีการกระทำนั้นมิได้ระบุว่าเป็นความผิดทางอาญามิได้ และโทษที่จะลงแก่บุคคลนั้นจะหนักกว่าโทษที่ใช้อยู่ในขณะที่การกระทำความผิดทางอาญานั้นเกิดขึ้นมิได้
# การเข้าไปแทรกสอดโดยพลการในกิจส่วนตัว ครอบครัว เคหะสถาน การส่งข่าสาร ตลอดจนการโจมตีต่อเกียรติยศและชื่อเสียงของบุคคลนั้นจะทำมิได้ ทุกๆ คน มีสิทธิที่จะได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายจากการแทรกสอดและโจมตีดังกล่าว
# (1) บุคคลมิสิทธิที่จะมีเสรีภาพในการเคลื่อนย้าย และในถิ่นที่อยู่ภายในขอบเขตดินแดนของแต่ละรัฐ (2) บุคคลมิสิทธิที่จะเดินทางออกจากประเทศใดๆ รวมทั้งของตนเองและที่จะกลับคืนสู่บ้านเกิดเมืองนอน
# (1) บุคคลมีสิทธิที่จะแสวงหาและพักพิงในประเทศอื่นๆ เพื่อลี้ภัยจากการกดขี่ข่มเหง (2) สิทธินี้จะกล่าวอ้างมิได้ในกรณีการฟ้องคดี ซึ่งโดยความจริงเกิดจากความผิดที่ไม่ใช่เรื่องการเมือง หรือจากการกระทำที่ขัดต่อความมุ่งประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ
# (1) บุคคลมีสิทธิในการถือสัญชาติ (2) การถอนสัญชาติโดยพลการ หรือการปฏิเสธสิทธิที่จะเปลี่ยนสัญชาติของบุคคลใดนั้นจะกระทำมิได้
# (1) ชายและหญิงเมื่อเจริญวัยบริบูรณ์แล้ว มีสิทธิที่จะสมรสและที่จะสร้างครอบครัวโดยไม่มีการจำกัดใดๆ เนื่องจากเชื้อชาติ สัญชาติ หรือศาสนา บุคคลชอบที่จะมีสิทธิเท่าเทียมกันในเรื่องการสมรส ในระหว่างการสมรสและในการขาดการสมรส (2) การสมรสจะกระทำได้ก็โดยความยินยอมอย่างเสรี และเต็มใจของคู่บ่าวสาวผู้ตั้งใจจะกระทำการสมรส (3) ครอบครัว คือ กลุ่มซึ่งเป็นหน่วยธรรมชาติและพื้นฐานของสังคมและชอบที่จะได้รับการคุ้มครองโดยสังคมและรัฐ
# (1) บุคคลมีสิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพย์สินโดยลำพังตนเอง และโดยการร่วมกับผู้อื่น (2) การยึดเอาทรัพย์สินของบุคคลใดไปเสียโดยพลการกระทำมิได้
# บุคคลมีสิทธิในเสรีภาพแห่งความคิด มโนธรรม และศาสนา สิทธินี้รวมถึงเสรีภาพที่จะเปลี่ยนศาสนา หรือความเชื่อถือ และเสรีภาพ ที่จะแสดงให้ศาสนาหรือความเชื่อถือประจักษ์ในรูปของการสั่งสอน การปฏิบัติกิจความเคารพสักการะบูชา สวดมนต์ และการถือปฏิบัติพิธีกรรม ไม่ว่าโดยลำพังตนเอง หรือร่วมกับผู้อื่นในประชาคมและในที่สาธารณะหรือส่วนตัว
# บุคคลมีสิทธิในเสรีภาพแห่งความเห็นและการแสดงออก สิทธินี้รวมถึงเสรีภาพที่จะยึดมั่นในความเห็นโดยปราศจากการแทรกสอดและที่จะแสวงหารับ ตลอดจนแจ้งข่าว รวมทั้งความคิดเห็นโดยผ่านสื่อใดๆ และโดยมิต้องคำนึงถึงเขตแดน
# (1) บุคคลมีสิทธิในเสรีภาพแห่งการชุมนุม และการสมาคมโดยสงบ (2) การบังคับให้บุคคลเข้าเป็นสมาชิกของสมาคมจะทำมิได้
# (1) บุคคลมีสิทธิที่จะเข้าร่วมในรัฐบาลแห่งประเทศของตน ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยผู้แทนซึ่งผ่านการเลือกอย่างเสรี

(2) บุคคลมีสิทธิเข้าถึงเท่ากันในบริการสาธารณะในประเทศของตน

(3) เจตจำนงของประชาชนจะเป็นฐานแห่งอำนาจของรัฐบาล เจตจำนงนี้จะแสดงออกโดยการเลือกตั้งเป็นครั้งเป็นคราวอย่างแท้จริง ด้วยการให้สิทธิออกเสียงอย่างทั่วถึงและเท่าเทียมกันและโดยการลงคะแนนลับหรือวิธีการลงคะแนนอย่างเสรีที่คล้ายคลึงกัน

ข้อ 22

ในฐานะสมาชิกของสังคมด้วยความเพียรพยายามของชาติตลอดจนความร่วมมือระหว่างประเทศและโดยสอดคล้องกับการจัดระเบียบและทรัยากรของแต่ละรัฐ บุคคลมีสิทธิในความมั่นคงทางสังคมและชอบที่จะได้รับผลแห่งสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมซึ่งจำเป็นต่อศักดิ์ศรีและการพัฒนาบุคคลิกภาพอย่างเสรีของตน

ข้อ 23

(1) บุคคลมีสิทธิที่จะทำงานที่จะเลือกงานอย่างเสรี ที่จะมีสภาวะการทำงานที่ยุติธรรมและพอใจ และที่จะได้รับความคุ้มครองจากการว่างงาน

(2) บุคคลมิสิทธิในการรับค่าตอบแทนเท่ากันสำหรับการทำงานที่เท่ากัน โดยไม่มีการเลือกปฏิบัติใดๆ

(3) บุคคลผู้ทำงานมีสิทธิในรายได้ซึ่งยุติธรรม และเอื้อประโยชน์เพื่อประกันสำหรับตนเองและครอบครัวให้การดำรงชีวิตมีค่าควรแก่ศักดิ์ศรีของมนุษย์ และถ้าจำเป็นก็ชอบที่จะได้รับความคุ้มครองทางสังคมอื่นๆ เพิ่มเติม

(4) บุคคลมีสิทธิที่จะก่อตั้งและเข้าร่วมกับสหภาพแรงงานเพื่อคุ้มครองผลประโยชน์ของตน

ข้อ 24

บุคคลมีสิทธิในการพักผ่อนและเวลาว่าง รวมทั้งการจำกัดเวลาทำงานที่ชอบด้วยเหตุผลและมีวันหยุดครั้งคราวที่ได้รับค่าตอบแทน

ข้อ 25

(1) บุคคลมีสิทธิในมาตรฐานการครองชีพที่เพียงพอสำกรับสุขภาพ และความอยู่ดีของตนและครอบครัว รวมทั้งอาหาร เสื้อผ้า ที่อยู่อาศัย การรักษาพยาบาล และบริการสังคมที่จำเป็นและสิทธิในความมั่นคงในกรณีว่างงาน เจ็บป่วย ทุพพลภาพ เป็นหม้าย วัยชรา หรือการขาดปัจจัยในการเลี้ยงชีพอื่นใดในพฤติการณ์อันเกิดจากที่ตนจะควบคุมได้

(2) มารดาและบุตรชอบที่จะได้รับการดูแลแลความช่วยเหลือเป็นพิเศษ เด็กทั้งหลายไม่ว่าจะเป็นบุตรในหรือนอกสมรสย่อมได้รับความคุ้มครองทางสังคมเช่นเดียวกัน

ข้อ 26

(1) บุคคลมีสิทธิในการศึกษา การศึกษาจะเป็นสิ่งที่ให้เปล่าโดยไม่คิดมูลค่า อย่างน้อยที่สุดในขั้นประถมศึกษาและขั้นพื้นฐาน ขั้นประถมศึกษาให้เป็นการศึกษาภาคบังคับ ขั้นเทคนิคและขั้นประกอบอาชีพเป็นการศึกษาที่จะต้องจัดมีขึ้นโดยทั่วๆ ไป และขั้นสูงเป็นขั้นที่จะเปิดให้ทุกคนเท่ากันตามความสามารถ

(2) การศึกษาจะมุ่งไปในทางพัฒนาบุคคลิกภาพของมนุษย์อย่างเต็มที่และเพื่อเสริมพลังเคารพต่อสิทธิมนุษยชน และเสรีภาพขั้นมูลฐานให้แข็งแกร่ง ทั้งจะมุ่งเสริมความเข้าใจ ขันติ และมิตรภาพในระหว่างประชาชาติ กลุ่มเชื้อชาติ หรือกลุ่มศาสนา และจะมุ่งขยายกิจกรรมของสหประชาชาติเพื่อการธำรงสันติภาพ

(3) ผู้ปกครองมีสิทธิก่อนผู้อื่นที่จะเลือกชนิดของการศึกษาสำหรับบุตรหลานของตน

ข้อ 27

(1) บุคคลมีสิทธิที่จะเข้าร่วมการใช้ชีวิตทางด้านวัฒนธรรมในประชาคมอย่างเสรี ที่จะพึงใจในศิลปะและมีส่วนในความคืบหน้าและผลประโยชน์ทางวิทยาศาสตร์

(2) บุคคลมีสิทธิในการรับความคุ้มครองประโยชน์ทางด้านศีลธรรมและทางวัตถุอันเป็นผลได้จากการประดิษฐ์ทางวิทยาศาสตร์ วรรณกรรมและศิลปะซึ่งตนเป็นเจ้าของ

ข้อ 28

บุคคลชอบที่จะได้รับประโยชน์จากระเบียบสังคมและระหว่างประเทศอันจะอำนวยให้การใช้สิทธิและเสรีภาพบรรดาที่ได้ระบุในปฏิญญานี้ทำได้อย่างเต็มที่

ข้อ 29

(1) บุคคลมีหน้าที่ต่อประชาชนอันเป็นที่เดียวซึ่งบุคคิกภาพของตนจะพัฒนาได้อย่างเสรีและเต็มความสามารถ

(2) ในการใช้สิทธิและเสรีภาพ บุคคลต้องอยู่ใต้เพียงเช่นที่จำกัดโดยกำหนดแห่งกฎหมายเฉพาะ เพื่อความมุ่งประสงค์ให้ได้มาซึ่งการยอมรับ และการเคารพโดยชอบในสิทธิ เสรีภาพของผู้อื่น และเพื่อให้สอดคล้องกับข้อกำหนดอันยุติธรรมของศีลธรรม ความสงบเรียบร้อยของประชาชาติและสวัสดิการโดยทั่วๆ ไป ในสังคมประชาธิปไตย

(3) สิทธิและอิสรภาพเหล่านี้ มิว่าจะด้วยกรณีใดจะใช้ให้ขัดกับความมุ่งประสงค์และหลักการของสหประชาชาติไม่ได้

ข้อ 30

ข้อความต่างๆ ตามปฏิญญานี้ไม่เปิดช่องที่จะแปลความได้ว่าให้สิทธิใดๆ แก่รัฐ กลุ่มชนหรือบุคคลใดๆ ที่จะประกอบกิจกรรม หรือกระทำการใดๆ อันมุ่งต่อการทำลายสิทธิและเสรีภาพใดๆ บรรดาที่ได้ระบุไว้ในบทบัญญัติฉบับนี้


== ดูเพิ่ม ==
== ดูเพิ่ม ==
บรรทัด 116: บรรทัด 47:


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{wikisource|ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน}}
{{wikisource|Universal Declaration of Human Rights}}
* [http://www.un.org/Overview/rights.html ตัวบทปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน] {{en icon}}
{{wiktionary|Universal Declaration of Human Rights}}
* [http://www.un.org/Overview/rights.html ตัวบทของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน] {{en icon}}
* [http://www.unhchr.ch/udhr/ บทแปลอย่างเป็นทางการของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน]


[[หมวดหมู่:ตราสารสิทธิมนุษยชน]]
{{ข้อตกลงระหว่างประเทศ}}

[[หมวดหมู่:สนธิสัญญา]]
[[หมวดหมู่:สนธิสัญญาในคริสต์ศตวรรษที่ 20]]
[[หมวดหมู่:สนธิสัญญาในคริสต์ศตวรรษที่ 20]]
[[หมวดหมู่:สนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน]]
[[หมวดหมู่:สนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน]]
[[หมวดหมู่:สหประชาชาติ]]
[[หมวดหมู่:สหประชาชาติ]]
{{โครงการเมือง}}

[[ab:Ауаҩытәыҩса Изинқәа Зегьеицырзеиҧшу Адекларациа]]
[[af:Universele Verklaring van Menseregte]]
[[als:Allgemeine Erklärung der Menschenrechte]]
[[am:«የሰብዓዊ መብት አቀፋዊ መግለጽ»]]
[[an:Declaración Universal d'os Dreitos Humans]]
[[ar:الإعلان العالمي لحقوق الإنسان]]
[[arz:الاعلان العالمى لحقوق الانسان]]
[[ast:Declaración Universal de los Derechos Humanos]]
[[ay:Akpach jaqe walinkañapataki inoqat aru]]
[[bat-smg:Vėsoutėnė žmuogaus teisiu deklaracėjė]]
[[be:Усеагульная дэкларацыя правоў чалавека]]
[[be-x-old:Усеагульная дэклярацыя правоў чалавека]]
[[bg:Всеобща декларация за правата на човека]]
[[bm:Hadamaden josiraw dantigɛkan]]
[[bn:মানবাধিকার সনদ]]
[[bo:༄༅༎ ཡོངས་ཁྱབ་གསལ་བསྒྲགས་འགྲོ་བ་མིའི་ཐོབ་ཐང༌།]]
[[br:Disklêriadur Hollvedel Gwirioù Mab-den]]
[[bs:Univerzalna deklaracija o ljudskim pravima]]
[[ca:Declaració Universal dels Drets Humans]]
[[cs:Všeobecná deklarace lidských práv]]
[[cy:Datganiad Cyffredinol am Hawliau Dynol]]
[[da:FN's Verdenserklæring om Menneskerettighederne]]
[[de:Allgemeine Erklärung der Menschenrechte]]
[[diq:Beyannamey heqanê insananê erd u asmêni]]
[[ee:Amegbetɔ ƒe Ablɔɖevinyenye ŋu Kpeɖoɖodzinya]]
[[el:Οικουμενική Διακήρυξη για τα Ανθρώπινα Δικαιώματα]]
[[en:Universal Declaration of Human Rights]]
[[eo:Universala Deklaracio de Homaj Rajtoj]]
[[es:Declaración Universal de los Derechos Humanos]]
[[et:Inimõiguste ülddeklaratsioon]]
[[eu:Giza Eskubideen Aldarrikapen Unibertsala]]
[[fa:اعلامیه جهانی حقوق بشر]]
[[fi:Ihmisoikeuksien yleismaailmallinen julistus]]
[[fiu-vro:Inemiseõigusõ kuulutus]]
[[fo:Mannarættindayvirlýsing]]
[[fr:Déclaration universelle des droits de l'homme]]
[[fur:Declarazion universâl dai dirits dal om]]
[[fy:Universele Ferklearring fan de Rjochten fan de Minske]]
[[ga:Dearbhú Uilechoiteann Chearta an Duine]]
[[gag:İnsan hakların cümlä deklarațiyası]]
[[gl:Declaración Universal dos Dereitos Humanos]]
[[gn:Tekove yvypora kuera maymayva derecho kuaaukaha]]
[[he:ההכרזה לכל באי עולם בדבר זכויות האדם]]
[[hi:मानव अधिकारों की सार्वभौम घोषणा]]
[[hif:Universal Declaration of Human Rights]]
[[hr:Opća deklaracija o pravima čovjeka]]
[[hu:Az emberi jogok egyetemes nyilatkozata]]
[[hy:Մարդու իրավունքների համընդհանուր հռչակագիր]]
[[ia:Declaration Universal del Derectos Human]]
[[id:Pernyataan Umum tentang Hak-Hak Asasi Manusia]]
[[io:Universala Deklaro di Homala Yuri]]
[[is:Mannréttindayfirlýsing Sameinuðu þjóðanna]]
[[it:Dichiarazione universale dei diritti umani]]
[[ja:世界人権宣言]]
[[ka:ადამიანის უფლებათა საყოველთაო დეკლარაცია]]
[[kab:Tiṣerriḥt tagraɣlant izerfan n wemdan]]
[[kk:Адам құқықтарының жалпыға бірдей декларациясы]]
[[kl:Inuttut pisinnaatitaafiit pillugit silarsuarmioqatigiinut nalunaarut]]
[[ko:세계 인권 선언]]
[[krc:Адамны хакъларыны тамал декларациясы]]
[[la:Universa Iurum Humanorum Declaratio]]
[[lad:Deklarasion Universala de los Diritos Umanos]]
[[lb:Universal-Deklaratioun vun de Mënscherechter]]
[[lg:Ekiwandiiko Eky'abantu Bonna Ekifa ku Ddembe Ly'obunto]]
[[li:Universeel Verklaoring van de Rechte van d'r Miensj]]
[[ln:Lisakoli ya molongo ya makoki ya moto]]
[[lt:Visuotinė žmogaus teisių deklaracija]]
[[lv:Vispārējā cilvēktiesību deklarācija]]
[[mg:Fanambarana Iraisam-pirenena momban'ny Zon'Olombelona]]
[[mk:Универзална декларација за човековите права]]
[[ml:അന്താരാഷ്ട്ര മനുഷ്യാവകാശ പ്രഖ്യാപനം]]
[[mr:मानवाधिकाराचे वैश्विक घोषणापत्र]]
[[ms:Perisytiharan Hak Asasi Manusia Sejagat]]
[[mwl:Declaraçon Ounibersal de ls Dreitos Houmanos]]
[[my:အပြည်ပြည်ဆိုင်ရာ လူ့အခွင့်အရေး ကြေငြာစာတမ်း]]
[[new:मानवअधिकार सम्बन्धि राष्ट्रसंघया विश्वव्यापी घोषणा]]
[[nl:Universele verklaring van de rechten van de mens]]
[[nn:Menneskerettsfråsegna]]
[[no:Menneskerettighetserklæringen]]
[[nv:Bee Hazʼą́ą Ił Chʼétʼaah]]
[[oc:Declaracion Universala dels Dreches Umans]]
[[pl:Powszechna Deklaracja Praw Człowieka]]
[[pnb:انسانی حقاں دا عالمی اعلان]]
[[pt:Declaração Universal dos Direitos Humanos]]
[[qu:Pachantin llaqtakunapi runap allin kananpaq hatun kamachikuy]]
[[ro:Declarația Universală a Drepturilor Omului]]
[[ru:Всеобщая декларация прав человека]]
[[rue:Універзална декларація людьскых прав]]
[[rw:Itangazo Mpuzamahanga ryerekeye Uburenganzira bwa Muntu]]
[[sah:Киһи быраабын биирдэһиллибит декларацията]]
[[sc:Decraratzione Universale de sos Deretos de s'Òmine]]
[[sco:Universal Declaration o Human Richts]]
[[sg:Dêpä tî pöpöködörö tî ndiä tï bata nengö terê tï zo takapa]]
[[sh:Univerzalna deklaracija o ljudskim pravima]]
[[simple:Universal Declaration of Human Rights]]
[[sk:Všeobecná deklarácia ľudských práv]]
[[sl:Splošna deklaracija človekovih pravic]]
[[so:Baaqa Caalamiga ee Xuquuqda Aadanaha]]
[[sq:Deklarata e Përgjithshme mbi të Drejtat e Njeriut]]
[[sr:Универзална декларација о људским правима]]
[[ss:Simemetelo Semhlaba Wonkhe Mayelana Nemalungelo Ebuntfu]]
[[sv:FN:s deklaration om de mänskliga rättigheterna]]
[[sw:Tangazo kilimwengu la haki za binadamu]]
[[ta:உலக மனித உரிமைகள் சாற்றுரை]]
[[tet:Deklarasaun Universál Direitus Umanus Nian]]
[[tpi:Toksave long ol raits bilong ol manmeri long olgeta hap bilong dispela giraun]]
[[tr:İnsan Hakları Evrensel Bildirisi]]
[[uk:Загальна декларація прав людини]]
[[ur:انسانی حقوق کا آفاقی منشور]]
[[vec:Dichiarasion Universałe de i Diriti de l'Omo]]
[[vi:Tuyên ngôn Quốc tế Nhân quyền]]
[[wa:Declaråcion univiersele des droets del djin]]
[[war:Sangkalibutan Nga Pag-Asoy Bahin Han Kanan Tawo Mga Katungod]]
[[yi:אלוועלטלעכע דעקלאראציע פון מענטשרעכט]]
[[yo:Ìkéde Akáríayé fún àwọn Ẹ̀tọ́ Ọmọnìyàn]]
[[zh:世界人权宣言]]
[[zh-classical:世界人權宣言]]
[[zh-min-nan:Sè-kài Jîn-koân Soan-giân]]
[[zh-yue:世界人權宣言]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 00:41, 11 ธันวาคม 2564

ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
เอลีนอร์ โรสเวลต์ถือปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนภาษาอังกฤษ
สิทธิมนุษยชนที่สมัชชาสหประชาชาติลงมติรับในสมัยประชุมที่ 183 จัดขึ้น ณ กรุงปารีส ในวันที่ 10 ธันวาคม 1948
สร้าง1948
ให้สัตยาบัน10 ธันวาคม ค.ศ. 1948
ที่ตั้งปาแลเดอชาโย
ผู้เขียนคณะกรรมการร่าง[a]
วัตถุประสงค์สิทธิมนุษยชน

ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (อังกฤษ: Universal Declaration of Human Rights หรือ UDHR) เป็นเอกสารระหว่างประเทศที่เชิดชูสิทธิเสรีภาพของมนุษย์ทั้งปวง สมัชชาสหประชาชาติยอมรับตามข้อมติที่ 217 ในสมัยประชุมที่สาม วันที่ 10 ธันวาคม 1948 ณ ปาแลเดอชาโย ในกรุงปารีส ประเทศฝรั่งเศส[1]

เอกสารนี้ถือเป็นข้อความรากฐานในประวัติศาสตร์สิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมือง ปฏิญญาฯ มีเนื้อหา 30 ข้อที่ลงรายละเอียด "สิทธิขั้นพื้นฐานและเสรีภาพมูลฐาน" ของปัจเจก และยืนยันลักษณะสากลของสิทธิเสรีภาพเหล่านี้ว่าเป็นสิทธิติดตัวมาแต่กำเนิด ไม่อาจโอนให้แก่กันได้ และใช้กับมนุษย์ทุกคน[1] UDHR ผูกมัดประชาชาติให้รับรองมนุษย์ทุกคนว่าเกิดมามีอิสระและมีศักดิ์ศรีและสิทธิเท่าเทียมกัน โดยไม่คำนึงถึงเชื้อชาติ ถิ่นพำนัก เพศ ชาติหรือชาติพันธุ์กำเนิด สีผิว ศาสนา ภาษาหรือสถานภาพอื่น[2] นับเป็นแรงบันดาลใจโดยตรงแก่การกำเนิดของกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ

แม้ว่าตัวปฏิญญาฯ เองไม่มีผลผูกพันตามกฎหมาย แต่เนื้อหาของปฏิญญาฯ ได้มีการอธิบายเพิ่มเติมและรวมเข้าอยู่ในสนธิสัญญาระหว่างประเทศ ตราสารสิทธิมนุษยชนระดับภูมิภาค และรัฐธรรมนูญและประมวลกฎหมายของชาติต่าง ๆ ในเวลาต่อมา[1] รัฐสมาชิกสหประชาชาติทั้ง 193 รัฐได้ให้สัตยาบันแก่สนธิสัญญาที่มีผลผูกพันอย่างน้อย 1 ใน 9 ฉบับซึ่งได้รับอิทธิพลจากปฏิญญาฯ และส่วนใหญ่ให้สัตยาบันแก่สนธิสัญญาจำนวนนี้อย่างน้อย 4 ฉบับหรือกว่านั้น นักวิชาการกฎหมายบางคนให้เหตุผลว่าการใช้ปฏิญญาฯ ดังกล่าวเป็นเวลา 50 ปีขึ้นไปน่าจะถือได้ว่ามีผลผูกพันเป็นกฎหมายระหว่างประเทศจารีตประเพณีแล้ว[3][4] แม้ว่าศาลในบางประเทศยังคงจำกัดผลลัพธ์ทางกฎหมายอยู่[5][6] กระนั้น UDHR ได้มีอิทธิพลต่อการพัฒนาทางกฎหมาย การเมืองและสังคมทั้งในระดับโลกและประเทศ และมีความสำคัญจากการแปล 524 สำนวน ซึ่งมากกว่าเอกสารใด ๆ ในประวัติศาสตร์[7]

โครงสร้าง

[แก้]

โครงสร้างพื้นเดิมของปฏิญญาฯ ได้รับอิทธิพลจากประมวลกฎหมายนโปเลียน ซึ่งมีอารัมภบทและหลักการทั่วไปในบทนำ[8] โครงสร้างสุดท้ายมีรูปมาจากฉบับร่างที่สองที่เตรียมโดยนักนิติศาสตร์ชาวฝรั่งเศส René Cassin ซึ่งทำงานต่อจากฉบับร่างแรกที่เตรียมโดยนักวิชาการกฎหมายชาวแคนาดา จอห์น ปีเตอส์ ฮัมฟรี

ปฏิญญาฯ มีเนื้อหาต่อไปนี้:

  • อารัมภบทระบุสาเหตุทางประวัติศาสตร์และสังคมซึ่งนำไปสู่ความจำเป็นของการร่างปฏิญญาฯ
  • ข้อ 1–2 กำหนดมโนทัศน์พื้นฐานของศักดิ์ศรี เสรีภาพและความเสมอภาค
  • ข้อ 3–5 กำหนดสิทธิปัจเจกอื่น เช่น สิทธิในการมีชีวิต และการห้ามมีทาสและการทรมาน
  • ข้อ 6–11 เล่าถึงความชอบด้วยกฎหมายมูลฐานของสิทธิมนุษยชนและการเยียวยาหากมีการละเมิดสิทธิเหล่านั้น
  • ข้อ 12–17 กำหนดสิทธิของปัจเจกต่อชุมชน รวมทั้งเสรีภาพในการเดินทาง (freedom of movement)
  • ข้อ 18–21 อนุมัติ "เสรีภาพตามรัฐธรรมนูญ" และเสรีภาพทางจิตวิญญาณ สาธารณะและการเมือง เช่น เสรีภาพทางความคิด ความเห็น ศาสนาและสำนึก คำและการรวมกลุ่มอย่างสันติของปัจเจก
  • ข้อ 22–27 อนุมัติสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของปัจเจก รวมทั้งบริการสาธารณสุข ย้ำถึงสิทธิอย่างกว้างขวางในมาตรฐานการครองชีพ กำหนดการอำนวยความสะดวกเพิ่มเติมในกรณีร่างกายทรุดโทรมหรือทุพพลกายทางกาย และกล่าวถึงเป็นพิเศษแก่การดูแลแก่ผู้เป็นมารดาและบุตร
  • ข้อ 28–30 กำหนดวิธีการทั่วไปสำหรับใช้สิทธิเหล่านี้ ขอบเขตที่สิทธิของปัจเจกใช้ไม่ได้ หน้าที่ของปัจเจกต่อสังคม และการห้ามใช้สิทธิที่เป็นการฝ่าฝืนความมุ่งประสงค์ขององค์การสหประชาชาติ

เชิงอรรถ

[แก้]
  1. Included John Peters Humphrey (Canada), René Cassin (France), P. C. Chang (Republic of China), Charles Malik (Lebanon), Hansa Mehta (India) and Eleanor Roosevelt (United States); see Creation and drafting section above.

อ้างอิง

[แก้]
  1. 1.0 1.1 1.2 "Human Rights Law". www.un.org (ภาษาอังกฤษ). 2015-09-02. สืบค้นเมื่อ 2020-08-20.
  2. UDHR Booklet, Art. 2.
  3. Henry J Steiner and Philip Alston, International Human Rights in Context: Law, Politics, Morals, (2nd ed), Oxford University Press, Oxford, 2000.
  4. Hurst Hannum, The universal declaration of human rights in National and International Law, p.145
  5. Posner, Eric (2014-12-04). "The case against human rights | Eric Posner". The Guardian (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). ISSN 0261-3077. สืบค้นเมื่อ 2020-01-22.
  6. Sosa v. Alvarez-Machain, 542 U.S. 692, 734 (2004).
  7. "OHCHR | Universal Declaration of Human Rights Main". www.ohchr.org. สืบค้นเมื่อ 2020-08-20.
  8. Glendon 2002, pp. 62–64.

ดูเพิ่ม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]