ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไทยเชื้อสายจาม"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Danieliness (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่
 
(ไม่แสดง 39 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 22 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
'''แขกจาม''' เป็นชื่อเรียกกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งในตระกูลมาลาโย-โพลินีเชียนอาศัยอยู่ในเขตประเทศเวียดนามในปัจจุบัน นับถือ[[ศาสนาอิสลาม]] มีภาษาพูดที่สื่อภาษากันได้กับ[[ภาษามลายูปัตตานี]]และ[[ภาษามลายูกลาง]] เข้ามาใน[[ประเทศไทย]]ด้วยสาเหตุต่าง ๆ ในช่วงหลังจากเสียกรุงวิชัย เมืองหลวงของจามปา คือ
'''ชาวไทยเชื้อสายจาม''' เป็นชื่อเรียกกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งในตระกูลมาลาโย-โพลินีเชียนหรือชนชาติ[[มลายู]] อาณาจักรจามอยู่ระหว่าง ญวนกับเขมร ส่วนใหญ่นับถือ [[ศาสนาอิสลาม]]เรียกกันว่า[[แขกจาม]] มีภาษาพูดที่สื่อสารกันคือ [[ภาษามลายู]] เป็นกลุ่มภาษา[[ออสโตรนีเชียน]] เข้ามาใน[[ประเทศไทย]]ด้วยสาเหตุต่าง ๆ ในช่วงหลังจากเสียกรุงวิชัย เมืองหลวงของจามปาให้แก่[[เวียดนาม]] คือ
#ถูกกวาดต้อนมาจากกัมพูชา ในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ช่วงที่ญวนทำสงครามกับเขมร เข้ามาอยู่ครั้งแรกที่ ตำบลน้ำเชี่ยว แห่งเดียว
#[[ชาวจามกลุ่มแรก]] มีหลักฐานปรากฏช่วงตอนต้นกรุงศรีอยุธยา ในปี [[พ.ศ. 1991]] จากการอพยพมาจากตอนเหนือของลาวและเวียดนาม หรือ อาจจะมาจาก[[เกาะบอร์เนียว]] เข้าอยู่เมืองชุมพร ก่อนปี [[พ.ศ. 1997]] ในแผ่นดิน[[สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ]] ชาวจาม เป็นทหารชั้นดี ราชสำนักอยุธยาใช้ในการรบ การเดินเรือ และการค้าทางน้ำทางทะเล หรือการขยายพระราชอาณาเขตของอาณาจักรอยุธยาลงทางใต้ ชาวจามเข้าตี[[เมืองชุมพร]] จากราชอาณาจักรนครศรีธรรมราชได้ จึงได้ปกครองดินแดนแทบนี้ [[เมืองชุมพร]] และ[[เมืองไชยา]] ([คอคอดกระ]) (ปัจจุบันเป็นหนึ่งในพื้นที่ของ[[จังหวัดสุราษฎร์ธานี]]) และกวาดต้อนชาวเมืองพงสาลี และชาวเมืองแถง ([[เดียนเบียนฟู]]) เป็นพลเมือง ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และเป็นเมืองท่าค้าขายสำคัญตั้งแต่นั้นมา
#อพยพหนีการบีบบังคับทางด้านศาสนาของ[[ฝรั่งเศส]]ที่ยึดเมืองเขมรในขณะนั้น ในสมัยต้น[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เรียกตัวเองว่า แขกจาม หรือ จามปา แขกจามกลุ่มนี้เดินทางด้วยเรือมาเป็นกลุ่ม ต่อมาแยกไปตั้งถิ่นฐานเป็นสามแห่ง
#ในช่วงรัชกาลที่3 ระหว่าง พ.ศ. 2376-2390 (โดยอ้างอิงศักราชมาจาก[[อานัมสยามยุทธ|ช่วงเวลาที่ไทยทำสงครามกับเวียดนาม]])ชาวจามหรือแขกจามที่นับถือศาสนาอิสลามได้ถูกกวาดต้อนออกมาจากกัมพูชา(ขณะนั้นเป็นดินแดนประเทศราชของสยาม) เข้ามาในสยาม ในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] (รัชกาลที่3) ช่วงที่ญวนทำสงครามกับเขมร เข้ามาอยู่ครั้งแรกที่ ตำบลน้ำเชี่ยว แห่งเดียว
*กลุ่มหนึ่ง เดินทางลัดเลาะชายฝั่งจนถึงบริเวณปากอ่าวลำคลองท่าตะเภาและปากอ่าวคลองน้ำเชี่ยว แยกเข้าสู่คลองน้ำเชี่ยว ได้แก่[[ชาวไทยมุสลิม]] ตำบลน้ำเชี่ยว อำเภอแหลมงอบในปัจจุบัน
#ในช่วงรัชกาลที่5 ได้อพยพหนีการบีบบังคับทางด้านศาสนาและการปกครองของ[[สาธารณรัฐฝรั่งเศส|ฝรั่งเศส]]ที่ยึดเมืองเขมรในขณะนั้น ในสมัยต้น[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] (รัชกาลที่5) เรียกตัวเองว่า แขกจาม หรือ จามปา แขกจามกลุ่มนี้เดินทางด้วยเรือมาเป็นกลุ่ม ต่อมาแยกไปตั้งถิ่นฐานเป็นสามแห่ง
* อีกกลุ่มหนึ่ง เดินทางไปจนถึงปากน้ำ[[จังหวัดระยอง]] ขึ้นที่ระยอง และ กลุ่มที่สาม ร่องเรือไปถึง[[กรุงเทพฯ]] กลุ่มนี้ รัชกาลที่ 5 ทรงทราบ โปรดให้จัดที่พระราชทานให้อยู่ที่บ้านครัว เรียกว่า กลุ่มบ้านครัว หรือ แขกบ้านครัว ในปัจจุบันนี้
* กลุ่มที่หนึ่ง เดินทางลัดเลาะชายฝั่งจนถึงบริเวณปากอ่าวลำคลองท่าตะเภาและปากอ่าวคลองน้ำเชี่ยว แยกเข้าสู่คลองน้ำเชี่ยว ได้แก่[[ชาวไทยมุสลิม]] ตำบลน้ำเชี่ยว อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราดในปัจจุบัน
* กลุ่มที่สอง เดินทางไปจนถึงปากน้ำและขึ้นสู่แผ่นดินที่[[จังหวัดระยอง]]
* กลุ่มที่สาม ล่องเรือไปถึง[[กรุงเทพฯ]] กลุ่มนี้ รัชกาลที่ 5 ทรงทราบ โปรดให้จัดที่พระราชทานให้อยู่ที่บ้านครัวโดยรวมกับชาวจามที่มีอยู่แล้ว เรียกว่า กลุ่มบ้านครัว หรือ แขกบ้านครัว ในปัจจุบันนี้ โดยมีชุมชนเป็นหลักเป็นแหล่งอยู่ที่ชุมชนบ้านครัว เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร


ชาวมุสลิมที่เข้ามาตามลำ[[คลองน้ำเชี่ยว]] ได้มาตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณ[[ป่าชายเลน]] ซึ่งมีชาวไทยอาศัยอยู่ก่อนแล้ว ได้สร้างบ้านเรือนขึ้นง่าย ๆ เมื่อสร้างที่พักแล้วได้ร่วมกันสร้างสุเหร่าเพื่อใช้ประกอบพิธีทางศาสนา โดยใช้ไม้โกงกาง มาปักเป็นเขต 4 ต้น หลังคามุงด้วยใบปรงนำมาสานเป็นตับเหมือนตับจาก มุงกันแดดกันฝน ต่อมาเมื่อตั้งหลักแหล่งแน่นอนแล้วได้ต่อเติมสุเหร่าให้มีสภาพดีขึ้นจนถึงปัจจุบัน โดยมิได้เคลื่อนย้ายจากที่ตั้งเดิมแต่อย่างใด ส่วนมุสลิมที่บ้านเนินตาแมว บ้านปลายคลอง [[อำเภอเมืองตราด]] นั้น เป็นมุสลิมที่เกิดจากการแต่งงานกับคนไทยและได้มีการย้ายข้ามศาสนากลายเป็นกลุ่มมุสลิมที่ใหญ่ขึ้น
ชาวมุสลิมที่เข้ามาตามลำ[[คลองน้ำเชี่ยว]] ได้มาตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณ[[ป่าชายเลน]] ซึ่งมีชาวไทยอาศัยอยู่ก่อนแล้ว ได้สร้างบ้านเรือนขึ้นง่าย ๆ เมื่อสร้างที่พักแล้วได้ร่วมกันสร้างสุเหร่าเพื่อใช้ประกอบพิธีทางศาสนา โดยใช้ไม้โกงกาง มาปักเป็นเขต 4 ต้น หลังคามุงด้วยใบปรงนำมาสานเป็นตับเหมือนตับจาก มุงกันแดดกันฝน ต่อมาเมื่อตั้งหลักแหล่งแน่นอนแล้วได้ต่อเติมสุเหร่าให้มีสภาพดีขึ้นจนถึงปัจจุบัน โดยมิได้เคลื่อนย้ายจากที่ตั้งเดิมแต่อย่างใด ส่วนมุสลิมที่บ้านเนินตาแมว บ้านปลายคลอง [[อำเภอเมืองตราด|อำเภอเมือง]] จังหวัดตราด นั้น เป็นมุสลิมที่เกิดจากการแต่งงานกับคนไทยและได้มีการย้ายข้ามศาสนากลายเป็นกลุ่มมุสลิมที่ใหญ่ขึ้น

== ชาวไทยเชื้อสายจามที่มีชื่อเสียงและเป็นแม่ทัพเรือ ==
* [[หลวงปรีชาชาญสมุทร (ซอ โสตะจินดา)]] - อดีตผู้บังคับการเรือรบหลวงมกุฎราชกุมาร
* พระพลสิทธิ์ธวาณัฐ (แอ ไอศะนาวิน) - ต้นตระกูลไอศะนาวิน
* หลวงสาครยุทธวิชัย (หมัด หัสตานนท์) - ต้นตระกูลหัสตานนท์
* หลวงสมบูรณ์ยุทธวิชา


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
*คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, 2542:24-25
* คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, 2542:24-25


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
*[http://www.youtube.com/watch?v=CUUtj2SRO_M&feature=youtu.be รายการแสงเดือนเสี้ยว ตอน มุสลิมไทยเชื้อสาย เขมร กองอาสาจาม บ้านครัว]


{{เผ่าในไทย}}
{{เผ่าในไทย}}


[[หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย|ท]]
[[หมวดหมู่:กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย|ทไยเชื่อสายจาม]]
[[หมวดหมู่:ชาวเวียดนาม|ท]]
[[หมวดหมู่:ประเทศเวียดนาม|ท]]
[[หมวดหมู่:สังคมมนุษย์|ท]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:23, 14 สิงหาคม 2560

ชาวไทยเชื้อสายจาม เป็นชื่อเรียกกลุ่มชาติพันธุ์กลุ่มหนึ่งในตระกูลมาลาโย-โพลินีเชียนหรือชนชาติมลายู อาณาจักรจามอยู่ระหว่าง ญวนกับเขมร ส่วนใหญ่นับถือ ศาสนาอิสลามเรียกกันว่าแขกจาม มีภาษาพูดที่สื่อสารกันคือ ภาษามลายู เป็นกลุ่มภาษาออสโตรนีเชียน เข้ามาในประเทศไทยด้วยสาเหตุต่าง ๆ ในช่วงหลังจากเสียกรุงวิชัย เมืองหลวงของจามปาให้แก่เวียดนาม คือ

  1. ชาวจามกลุ่มแรก มีหลักฐานปรากฏช่วงตอนต้นกรุงศรีอยุธยา ในปี พ.ศ. 1991 จากการอพยพมาจากตอนเหนือของลาวและเวียดนาม หรือ อาจจะมาจากเกาะบอร์เนียว เข้าอยู่เมืองชุมพร ก่อนปี พ.ศ. 1997 ในแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ ชาวจาม เป็นทหารชั้นดี ราชสำนักอยุธยาใช้ในการรบ การเดินเรือ และการค้าทางน้ำทางทะเล หรือการขยายพระราชอาณาเขตของอาณาจักรอยุธยาลงทางใต้ ชาวจามเข้าตีเมืองชุมพร จากราชอาณาจักรนครศรีธรรมราชได้ จึงได้ปกครองดินแดนแทบนี้ เมืองชุมพร และเมืองไชยา ([คอคอดกระ]) (ปัจจุบันเป็นหนึ่งในพื้นที่ของจังหวัดสุราษฎร์ธานี) และกวาดต้อนชาวเมืองพงสาลี และชาวเมืองแถง (เดียนเบียนฟู) เป็นพลเมือง ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และเป็นเมืองท่าค้าขายสำคัญตั้งแต่นั้นมา
  2. ในช่วงรัชกาลที่3 ระหว่าง พ.ศ. 2376-2390 (โดยอ้างอิงศักราชมาจากช่วงเวลาที่ไทยทำสงครามกับเวียดนาม)ชาวจามหรือแขกจามที่นับถือศาสนาอิสลามได้ถูกกวาดต้อนออกมาจากกัมพูชา(ขณะนั้นเป็นดินแดนประเทศราชของสยาม) เข้ามาในสยาม ในสมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่3) ช่วงที่ญวนทำสงครามกับเขมร เข้ามาอยู่ครั้งแรกที่ ตำบลน้ำเชี่ยว แห่งเดียว
  3. ในช่วงรัชกาลที่5 ได้อพยพหนีการบีบบังคับทางด้านศาสนาและการปกครองของฝรั่งเศสที่ยึดเมืองเขมรในขณะนั้น ในสมัยต้นพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่5) เรียกตัวเองว่า แขกจาม หรือ จามปา แขกจามกลุ่มนี้เดินทางด้วยเรือมาเป็นกลุ่ม ต่อมาแยกไปตั้งถิ่นฐานเป็นสามแห่ง
  • กลุ่มที่หนึ่ง เดินทางลัดเลาะชายฝั่งจนถึงบริเวณปากอ่าวลำคลองท่าตะเภาและปากอ่าวคลองน้ำเชี่ยว แยกเข้าสู่คลองน้ำเชี่ยว ได้แก่ชาวไทยมุสลิม ตำบลน้ำเชี่ยว อำเภอแหลมงอบ จังหวัดตราดในปัจจุบัน
  • กลุ่มที่สอง เดินทางไปจนถึงปากน้ำและขึ้นสู่แผ่นดินที่จังหวัดระยอง
  • กลุ่มที่สาม ล่องเรือไปถึงกรุงเทพฯ กลุ่มนี้ รัชกาลที่ 5 ทรงทราบ โปรดให้จัดที่พระราชทานให้อยู่ที่บ้านครัวโดยรวมกับชาวจามที่มีอยู่แล้ว เรียกว่า กลุ่มบ้านครัว หรือ แขกบ้านครัว ในปัจจุบันนี้ โดยมีชุมชนเป็นหลักเป็นแหล่งอยู่ที่ชุมชนบ้านครัว เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร

ชาวมุสลิมที่เข้ามาตามลำคลองน้ำเชี่ยว ได้มาตั้งบ้านเรือนอยู่บริเวณป่าชายเลน ซึ่งมีชาวไทยอาศัยอยู่ก่อนแล้ว ได้สร้างบ้านเรือนขึ้นง่าย ๆ เมื่อสร้างที่พักแล้วได้ร่วมกันสร้างสุเหร่าเพื่อใช้ประกอบพิธีทางศาสนา โดยใช้ไม้โกงกาง มาปักเป็นเขต 4 ต้น หลังคามุงด้วยใบปรงนำมาสานเป็นตับเหมือนตับจาก มุงกันแดดกันฝน ต่อมาเมื่อตั้งหลักแหล่งแน่นอนแล้วได้ต่อเติมสุเหร่าให้มีสภาพดีขึ้นจนถึงปัจจุบัน โดยมิได้เคลื่อนย้ายจากที่ตั้งเดิมแต่อย่างใด ส่วนมุสลิมที่บ้านเนินตาแมว บ้านปลายคลอง อำเภอเมือง จังหวัดตราด นั้น เป็นมุสลิมที่เกิดจากการแต่งงานกับคนไทยและได้มีการย้ายข้ามศาสนากลายเป็นกลุ่มมุสลิมที่ใหญ่ขึ้น

ชาวไทยเชื้อสายจามที่มีชื่อเสียงและเป็นแม่ทัพเรือ

[แก้]
  • หลวงปรีชาชาญสมุทร (ซอ โสตะจินดา) - อดีตผู้บังคับการเรือรบหลวงมกุฎราชกุมาร
  • พระพลสิทธิ์ธวาณัฐ (แอ ไอศะนาวิน) - ต้นตระกูลไอศะนาวิน
  • หลวงสาครยุทธวิชัย (หมัด หัสตานนท์) - ต้นตระกูลหัสตานนท์
  • หลวงสมบูรณ์ยุทธวิชา

อ้างอิง

[แก้]
  • คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ, 2542:24-25

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]