ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาด +แจ้งรอตรวจสอบด้วยบอต
ToadetteEdit (คุย | ส่วนร่วม)
Undid edits by 49.230.120.20 (talk) to last version by Ternera
 
(ไม่แสดง 46 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 30 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{อักษรไทย1|อ}}
{{อักษรไทย1|อ}}
'''อ''' เป็น[[อักษรไทย]] จำพวก[[พยัญชนะ]] อยู่ในลำดับ ที่ 43 ถัดจาก [[ฬ]] และก่อนถึง [[ฮ]] มักจะเรียกกันว่า อ อ่าง ในการจัดหมู่อักษร นับเป็น[[อักษรกลาง]] ใน[[ไตรยางศ์]] ผันได้ครบ 5 เสียง และเติม [[วรรณยุกต์]]ได้ทั้ง 4 รูป
'''อ''' เป็น[[อักษรไทย]] จำพวก[[พยัญชนะ]] อยู่ในลำดับ ที่ 43 ถัดจาก [[ฬ]] และก่อนถึง [[ฮ]] มักจะเรียกกันว่า อ อ่าง ในการจัดหมู่อักษร นับเป็น[[อักษรกลาง]] ใน[[ไตรยางศ์]] ผันได้ครบ 5 เสียง และเติม [[วรรณยุกต์]]ได้ทั้ง 4 รูป


ในภาษาไทยกลางทุกถิ่น อักษร อ เป็น[[พยัญชนะต้น]] ให้เสียง /ʔ/ แต่ไม่ใช้เป็น[[พยัญชนะสะกด]] โดยทั่วไปมักจัดให้ อ เป็นเสียงนำสระ
รูปสระ '''ตัวออ''' (อ) ยังสามารถใช้เป็น[[สระ]] ออ เมื่ออยู่หลังพยัญชนะต้น ใช้ถัดจากสระ อื เมื่อไม่มีพยัญชนะสะกด เช่น ถือ และใช้ประสมสระ เอือะ เอือ เออะ และ เออ


รูปสระ '''ตัวออ''' (อ) ยังสามารถใช้เป็น[[สระ]] ออ เมื่ออยู่หลังพยัญชนะต้น ใช้ถัดจากสระ อือ เมื่อไม่มีพยัญชนะสะกด เช่น ถือ และใช้ประสมสระ เอือะ เอือ เออะ และ เออ
โดยทั่วไปเรามักจัดให้ อ เป็นเสียงนำสระ แต่ในทาง[[ภาษาศาสตร์]] ถือว่า อ นั้น เป็นพยัญชนะปิดหรือหยุด ฐานเสียงเกิดที่ลำคอ (ใช้[[สัทอักษร]] /{{IPA-Text|ʔ}}/ คล้าย[[เครื่องหมายคำถาม]] แต่ไม่มีจุดข้างล่าง) เมื่อพิจารณาจากรูปเขียนจะเข้าใจได้ยาก ในที่นี้จึงขอยกมาเป็น 2 กรณี คือ กรณีเป็นพยัญชนะต้น และเป็นพยัญชนะตัวสะกด


== การประสมรูป ==
==พยัญชนะต้น==
{| class="wikitable"
เมื่อเป็นพยัญชนะต้น “อ” จะถูกใช้เป็นทุ่นเกาะสำหรับสระ เช่น อาหาร, อีก อุ่น ฯลฯ ในทางภาษาศาสตร์ ถือว่า อ เป็นพยัญชนะ ที่ประสมด้วย สระ (ในที่นี้ คือ สระอา และสระอี ตามลำดับ)
|-
! การประสมรูป !! ปรากฏ || ใช้เป็นสระ || สัทอักษรสากล
|-
| (พยัญชนะต้น) + ตัวออ || –อ || ออ || {{IPA|/ɔː/}}
|-
| (พยัญชนะต้น) + ไม้ไต่คู้ + ตัวออ + (พยัญชนะสะกด) || –็อ– || เอาะ (มีตัวสะกด) || {{IPA|/ɔ/}}
|-
| (พยัญชนะต้น) + สระอือ + ตัวออ || –ือ || อือ (ไม่มีตัวสะกด) || {{IPA|/ɯː/}}
|-
| ไม้หน้า + (พยัญชนะต้น) + ตัวออ || เ–อ || เออ (ไม่มีตัวสะกด) || {{IPA|/ɤː/}}
|-
| ไม้หน้า + (พยัญชนะต้น) + ตัวออ + วิสรรชนีย์ || เ–อะ || เออะ (ไม่มีตัวสะกด) || {{IPA|/ɤʔ/}}
|-
| ไม้หน้า + (พยัญชนะต้น) + สระอือ + ตัวออ || เ–ือ || เอือ || {{IPA|/ɯaː/}}
|-
| ไม้หน้า + (พยัญชนะต้น) + สระอือ + ตัวออ + วิสรรชนีย์ || เ–ือะ || เอือะ || {{IPA|/ɯaʔ/}}
|}


== พยัญชนะต้น ==
ในตำแหน่งพยัญชนะต้น เสียง อ ที่เป็นพยัญชนะหยุด อาจหายไป เหลือแต่เสียงสระ ก็ได้ นั่นคือ /{{IPA-Text|ʔ}}a:-ha:n/ /a:-ha:n/ ซึ่งในตัวอย่างที่ยกมาจะสังเกตได้ยาก แต่จะเห็นได้ชัดเจน เมื่อมี[[พยางค์]]อื่นนำหน้าเสียง อ เช่น “คุณอา” (/khun-{{IPA-Text|ʔ}}a:/ ไม่ใช่ /khuna:/) เสียงพยัญชนะ “น” ของพยางค์หน้า ไม่ถูกกลมกลืนเสียง (assimilate) ด้วยสระอา ในพยางค์หลัง เพราะมีเสียง “อ” คั่นอยู่ แต่ในภาษาอื่น อาจกลืนเสียงเป็น คุณนา” ได้ เช่น ในคำว่า บางปะอิน เมื่อเขียนด้วย[[อักษรโรมัน]]จึงมักจะมีขีดแยกคำ Bang Pa-in เพื่อไม่ให้เสียง อะ กับ อิ กลมกลืนเป็น[[สระประสม]]ตามลักษณะการประสมคำในภาษาอื่นที่เขียนด้วยอักษรโรมัน
เมื่อเป็นพยัญชนะต้น “อ” จะถูกใช้เป็นทุ่นเกาะสำหรับสระ เช่น อาหาร, อีก อุ่น ฯลฯ ในทางภาษาศาสตร์ ถือว่า อ เป็นพยัญชนะ ที่ประสมด้วย สระ (ในที่นี้ คือ สระอา และสระอี ตามลำดับ)


ในตำแหน่งพยัญชนะต้น เสียง อ ที่เป็นพยัญชนะหยุด อาจหายไป เหลือแต่เสียงสระ ก็ได้ นั่นคือ /{{IPA-Text|ʔ}}aː.haːn/ /aː.haːn/ ซึ่งในตัวอย่างที่ยกมาจะสังเกตได้ยาก แต่จะฟังได้ชัดเจน เมื่อมี[[พยางค์]]อื่นนำหน้าเสียง อ เช่น “คุณอา” (/khun.{{IPA-Text|ʔ}}/ ไม่ใช่ /khunaː/) เสียงพยัญชนะ “น” ของพยางค์หน้า ไม่ถูกกลมกลืนเสียง (assimilate) ด้วยสระอา ในพยางค์หลัง เพราะมีเสียง “อ” คั่นอยู่ แต่ในภาษาอื่น อาจกลืนเสียงเป็น "คุณนา" ได้ เช่น ในคำว่า บางปะอิน เมื่อเขียนด้วย[[อักษรโรมัน]]จึงมักจะมีขีดแยกคำ Bang Pa-in เพื่อไม่ให้เสียง อะ กับ อิ กลมกลืนเป็น[[สระประสม]]ตามลักษณะการประสมคำในภาษาอื่นที่เขียนด้วยอักษรโรมัน
==ตัวสะกด==
เมื่อเป็นพยัญชนะตัวสะกด จะไม่ปรากฏรูป อ ให้เห็น แต่สังเกตได้จากพยางค์ที่ประสมด้วยสระเสียงสั้น ไม่มีรูปพยัญชนะตัวสะกด เช่น กะ จะ ปะ บิ เกาะ จุ เมื่อต้องทับศัพท์เสียงเหล่านี้ด้วยอักษรแบบอื่น ที่ไม่มีเสียง “อ” จึงมักจะใช้เสียง ห (ซึ่งมีคุณลักษณะของเสียงที่ใกล้เคียงกัน) ปิดท้ายแทน เช่น เมื่อเขียนด้วยอักษรโรมัน kah, pah


== ตัวสะกด ==
อย่างไรก็ตาม ในคำที่มีหลายพยางค์ เสียง “อ” ที่เป็นพยัญชนะตัวสะกด อาจหายไป เมื่อพยางค์นั้นไม่เน้น เช่น
เมื่อเป็นพยัญชนะตัวสะกด จะไม่ปรากฏรูป อ ให้เห็น แต่สังเกตได้จากพยางค์ที่ประสมด้วยสระเสียงสั้น ไม่มีรูปพยัญชนะตัวสะกด เช่น กะ จะ ปะ บิ เกาะ จุ เมื่อต้องทับศัพท์เสียงเหล่านี้ด้วยอักษรแบบอื่น ที่ไม่มีเสียง “อ” จึงมักจะใช้เสียง ห (ซึ่งมีคุณลักษณะของเสียงที่ใกล้เคียงกัน) ปิดท้ายแทน เช่น เมื่อเขียนด้วยอักษรโรมัน kah, pah


อย่างไรก็ตาม ในคำที่มีหลายพยางค์ เสียง “อ” ที่เป็นพยัญชนะตัวสะกด อาจหายไป เมื่อพยางค์นั้นไม่เน้น เช่น
กุมารี อาจออกเสียงเป็น /ku{{IPA-Text|ʔ}}-ma:-ri:/ หรือ /ku-ma:-ri:/,


กุมารี อาจออกเสียงเป็น /ku{{IPA-Text|ʔ}}.maː.riː/ หรือ /ku.maː.riː/,
อารยธรรม อาจปรากฏเสียงอ สะกด ที่ ยะ แต่ไม่ปรากฏที่ ระ เพราะคำนี้เมื่อออกเสียงมักจะเน้นเสียงที่ ยะ ขณะที่ ระ นั้นออกเสียงเบากว่า ส่วนคำว่า พลังงาน เสียง “พะ” เบาจนเป็นเสียงสามัญ (ไม่ใช่เสียงตรี อย่างรูปปรากฏ) มักจะไม่ออกเสียง “อ” ที่เป็นตัวสะกด


อารยธรรม อาจปรากฏเสียง อ สะกด ที่ ยะ แต่ไม่ปรากฏที่ ระ เพราะคำนี้เมื่อออกเสียงมักจะเน้นเสียงที่ ยะ ขณะที่ ระ นั้นออกเสียงเบากว่า ส่วนคำว่า พลังงาน เสียง “พะ” เบาจนเป็นเสียงสามัญ (ไม่ใช่เสียงตรี อย่างรูปปรากฏ) มักจะไม่ออกเสียง “อ” ที่เป็นตัวสะกด
สำหรับในตำแหน่ง อ ท้ายคำ มักจะปรากฏเสียงหยุดชัดเจน เช่น สาธุ, กุฏิ, ธรรมะ, กะปิ, กระทะ, ชนะ


สำหรับในตำแหน่ง อ ท้ายคำ มักจะปรากฏเสียงหยุดชัดเจน เช่น สาธุ, กุฏิ, ธรรมะ, กะปิ, กระทะ, ชนะ
เสียง อ นี้นับเป็นเสียงพิเศษ ที่พบได้ในบางภาษาเท่านั้น เมื่อเทียบเสียงกับภาษาอื่น มักจะเทียบเป็นเสียงสระบ้าง เสียง /ห/ บ้าง ซึ่งมีความใกล้เคียง แต่ไม่ตรงกันเสียทีเดียว


เสียง อ นี้นับเป็นเสียงพิเศษ ที่พบได้ในบางภาษาเท่านั้น เช่น [[ภาษามัลดีฟส์]] ([[อักษรทานะ]]) เมื่อเทียบเสียงกับภาษาอื่น มักจะเทียบเป็นเสียงสระบ้าง เสียง /ห/ บ้าง ซึ่งมีความใกล้เคียง แต่ไม่ตรงกันเสียทีเดียว
[[หมวดหมู่:พยัญชนะไทย]]

[[หมวดหมู่:สระ|อ]]
[[หมวดหมู่:อักษรไทย]]
{{โครงภาษา}}

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 21:40, 26 ธันวาคม 2567

อักษรไทย
รูปพยัญชนะ
รูปสระ
–ั –ํ –ิ ' "
–ุ –ู –็
ฤๅ ฦๅ
รูปวรรณยุกต์
–่ –้ –๊ –๋
เครื่องหมายอื่น ๆ
–์ –๎ –ฺ
เครื่องหมายวรรคตอน
ฯลฯ

เป็นอักษรไทย จำพวกพยัญชนะ อยู่ในลำดับ ที่ 43 ถัดจาก และก่อนถึง มักจะเรียกกันว่า อ อ่าง ในการจัดหมู่อักษร นับเป็นอักษรกลาง ในไตรยางศ์ ผันได้ครบ 5 เสียง และเติม วรรณยุกต์ได้ทั้ง 4 รูป

ในภาษาไทยกลางทุกถิ่น อักษร อ เป็นพยัญชนะต้น ให้เสียง /ʔ/ แต่ไม่ใช้เป็นพยัญชนะสะกด โดยทั่วไปมักจัดให้ อ เป็นเสียงนำสระ

รูปสระ ตัวออ (อ) ยังสามารถใช้เป็นสระ ออ เมื่ออยู่หลังพยัญชนะต้น ใช้ถัดจากสระ อือ เมื่อไม่มีพยัญชนะสะกด เช่น ถือ และใช้ประสมสระ เอือะ เอือ เออะ และ เออ

การประสมรูป

[แก้]
การประสมรูป ปรากฏ ใช้เป็นสระ สัทอักษรสากล
(พยัญชนะต้น) + ตัวออ –อ ออ /ɔː/
(พยัญชนะต้น) + ไม้ไต่คู้ + ตัวออ + (พยัญชนะสะกด) –็อ– เอาะ (มีตัวสะกด) /ɔ/
(พยัญชนะต้น) + สระอือ + ตัวออ –ือ อือ (ไม่มีตัวสะกด) /ɯː/
ไม้หน้า + (พยัญชนะต้น) + ตัวออ เ–อ เออ (ไม่มีตัวสะกด) /ɤː/
ไม้หน้า + (พยัญชนะต้น) + ตัวออ + วิสรรชนีย์ เ–อะ เออะ (ไม่มีตัวสะกด) /ɤʔ/
ไม้หน้า + (พยัญชนะต้น) + สระอือ + ตัวออ เ–ือ เอือ /ɯaː/
ไม้หน้า + (พยัญชนะต้น) + สระอือ + ตัวออ + วิสรรชนีย์ เ–ือะ เอือะ /ɯaʔ/

พยัญชนะต้น

[แก้]

เมื่อเป็นพยัญชนะต้น “อ” จะถูกใช้เป็นทุ่นเกาะสำหรับสระ เช่น อาหาร, อีก อุ่น ฯลฯ ในทางภาษาศาสตร์ ถือว่า อ เป็นพยัญชนะ ที่ประสมด้วย สระ (ในที่นี้ คือ สระอา และสระอี ตามลำดับ)

ในตำแหน่งพยัญชนะต้น เสียง อ ที่เป็นพยัญชนะหยุด อาจหายไป เหลือแต่เสียงสระ ก็ได้ นั่นคือ /ʔaː.haːn/ /aː.haːn/ ซึ่งในตัวอย่างที่ยกมาจะสังเกตได้ยาก แต่จะฟังได้ชัดเจน เมื่อมีพยางค์อื่นนำหน้าเสียง อ เช่น “คุณอา” (/khun.ʔaː/ ไม่ใช่ /khunaː/) เสียงพยัญชนะ “น” ของพยางค์หน้า ไม่ถูกกลมกลืนเสียง (assimilate) ด้วยสระอา ในพยางค์หลัง เพราะมีเสียง “อ” คั่นอยู่ แต่ในภาษาอื่น อาจกลืนเสียงเป็น "คุณนา" ได้ เช่น ในคำว่า บางปะอิน เมื่อเขียนด้วยอักษรโรมันจึงมักจะมีขีดแยกคำ Bang Pa-in เพื่อไม่ให้เสียง อะ กับ อิ กลมกลืนเป็นสระประสมตามลักษณะการประสมคำในภาษาอื่นที่เขียนด้วยอักษรโรมัน

ตัวสะกด

[แก้]

เมื่อเป็นพยัญชนะตัวสะกด จะไม่ปรากฏรูป อ ให้เห็น แต่สังเกตได้จากพยางค์ที่ประสมด้วยสระเสียงสั้น ไม่มีรูปพยัญชนะตัวสะกด เช่น กะ จะ ปะ บิ เกาะ จุ เมื่อต้องทับศัพท์เสียงเหล่านี้ด้วยอักษรแบบอื่น ที่ไม่มีเสียง “อ” จึงมักจะใช้เสียง ห (ซึ่งมีคุณลักษณะของเสียงที่ใกล้เคียงกัน) ปิดท้ายแทน เช่น เมื่อเขียนด้วยอักษรโรมัน kah, pah

อย่างไรก็ตาม ในคำที่มีหลายพยางค์ เสียง “อ” ที่เป็นพยัญชนะตัวสะกด อาจหายไป เมื่อพยางค์นั้นไม่เน้น เช่น

กุมารี อาจออกเสียงเป็น /kuʔ.maː.riː/ หรือ /ku.maː.riː/,

อารยธรรม อาจปรากฏเสียง อ สะกด ที่ ยะ แต่ไม่ปรากฏที่ ระ เพราะคำนี้เมื่อออกเสียงมักจะเน้นเสียงที่ ยะ ขณะที่ ระ นั้นออกเสียงเบากว่า ส่วนคำว่า พลังงาน เสียง “พะ” เบาจนเป็นเสียงสามัญ (ไม่ใช่เสียงตรี อย่างรูปปรากฏ) มักจะไม่ออกเสียง “อ” ที่เป็นตัวสะกด

สำหรับในตำแหน่ง อ ท้ายคำ มักจะปรากฏเสียงหยุดชัดเจน เช่น สาธุ, กุฏิ, ธรรมะ, กะปิ, กระทะ, ชนะ

เสียง อ นี้นับเป็นเสียงพิเศษ ที่พบได้ในบางภาษาเท่านั้น เช่น ภาษามัลดีฟส์ (อักษรทานะ) เมื่อเทียบเสียงกับภาษาอื่น มักจะเทียบเป็นเสียงสระบ้าง เสียง /ห/ บ้าง ซึ่งมีความใกล้เคียง แต่ไม่ตรงกันเสียทีเดียว