ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
CosmoOok (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 23 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 6 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Componentes.JPG|thumb|350px|ตัวอย่างชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์]]
'''ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์''' ({{lang-en|Electronic Component}}) เป็นอุปกรณ์พื้นฐานที่แยกออกเป็นชิ้นย่อยๆเป็นเอกเทศหรือเป็นอุปกรณ์ที่มีเอกลักษณ์ทางกายภาพในระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้ในการส่งผลกระทบต่ออิเล็กตรอนหรือสาขาที่เกี่ยวข้องกับอิเล็กตรอน
'''ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์''' ({{langx|en|Electronic Component}}) คืออุปกรณ์หรือชิ้นส่วนใด ๆ ที่มีการทำงานที่ต้องเกี่ยวข้องกับ[[อิเล็กตรอน]]หรือ[[สนามแม่เหล็กไฟฟ้า]] อุปกรณ์เหล่านี้อาจเป็นอุปกรณ์เดี่ยวที่ทำหน้าที่เฉพาะเจาะจง (Discrete component) เช่นตัวต้านทานอันเดียวทั้งนี้อาจหมายถึงชิ้นส่วนที่ทำจาก[[สารกึ่งตัวนำ]]เพียงอย่างเดียว<ref>{{cite web | url=https://www.pcmag.com/encyclopedia/term/discrete-component | title=Definition of discrete component }}</ref><ref>{{cite book | url=https://books.google.com/books?id=UjJlDwAAQBAJ&dq=discrete+vs+integrated+circuit+cost&pg=SA1-PA6 | title=Principles of VLSI and CMOS Integrated Circuits | date=2016 | publisher=S. Chand | isbn=978-81-219-4000-9 }}</ref><ref>{{cite book | url=https://books.google.com/books?id=xll-DAAAQBAJ&q=discrete+circuit | title=Passive and Discrete Circuits: Newnes Electronics Circuits Pocket Book, Volume 2 | date=23 June 2016 | publisher=Elsevier | isbn=978-1-4832-9198-7 }}</ref> อุปกรณ์เหล่านี้ต้องนำไปต่อรวมกันถึงจะใช้งานได้ อีกรูปแบบหนึ่งคือเป็นชิ้นส่วนในระบบ[[อิเล็กทรอนิกส์]]เช่นทรานซิสเตอร์หลายล้านตัวที่รวมกันเบ็ดเสร็จใน[[แผงวงจรรวม]]หรือ[[หน่วยประมวลผลกลาง]] อุปกรณ์ประเภทนี้สามารถสร้างขึ้นมาได้หลายวิธีเช่น รวมอุปกรณ์เดี่ยวหลายตัวเป็น{{ill|วงจรรวมไฮบริด|en|Hybrid integrated circuit}} การประกอบแผง PCB หรือการสร้าง{{ill|lt=ทิคฟิล์ม|Thick-film technology|en}} {{ill|การสร้างแบบด้วยแสง|en|Photolithography}} {{ill|lt=การปลูกฟิล์มบาง|ฟิล์มบาง|en|Thin film}}เป็นต้น อุปกรณ์ทั้งสองรูปแบบคือทั้งแบบเดี่ยวและแบบวงจรรวมมักมาพร้อมกับดาตาชีท (Datasheet) เพื่อระบุรายละเอียดต่าง ๆ เช่นวิธีการใช้งาน ขีดความสามารถของตัวมัน อุปกรณ์เหล่านี้จะมีลักษณะสำคัญคือมีขั้วต่อหรือที่เรียกว่าขาซึ่งใช้ในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์อื่นเพื่อประกอบเป็น[[วงจรไฟฟ้า]]และนำไปใช้งานด้านต่าง ๆ เช่น [[ตัวขยายสัญญาณ|เครื่องขยาย]]หรือแอมป์ [[เครื่องรับวิทยุ]] และ[[ออสซิลเลเตอร์]]
[[ไฟล์:Componentes.JPG|thumb|ตัวอย่างชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์]]
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ที่มีมากกว่าสองขั้วไฟฟ้า(ขาหรือลีดส์) เมื่อนำขาของชิ้นส่วนหลายชนิดมาบัดกรีเข้าด้วยกันบน[[แผงวงจรพิมพ์]]จะสร้างเป็นวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (วงจรย่อย) ที่มีฟังก์ชันที่เฉพาะเจาะจง (เช่น[[เครื่องขยายสัญญาณ]], เครื่องรับสัญญาณวิทยุหรือ [[Electronic oscillator|oscillator]]) ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์พื้นฐานอาจจะถูกเก็บในบรรจุภัณฑ์แยกชนิดกัน หรือจัดเรียงเป็นแถวหรือเครือข่ายของส่วนประกอบที่เหมือนกันหรือผสมกันภายในแพคเกจเช่น[[วงจรรวม]]เซมิคอนดักเตอร์, แผงวงจรไฟฟ้าไฮบริดหรืออุปกรณ์ฟิล์มหนา. รายการของชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ต่อไปนี้ มุ่งเน้นไปที่ชิ้นส่วนที่แยกเป็นเอกเทศโดยถือว่าแพคเกจที่พูดถึงเป็นชิ้นส่วนเอกเทศตามนัยของมันเอง ในบทความนี้ คำว่าชิ้นส่วนและอุปกรณ์ มีความหมายเหมือนกัน


==การจัดหมวดหมู่==
==การจำแนกประเภท==
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์สามารถจำแนกได้ 3 ประเภท แอกทิฟ (Active component) แพสซิฟ (Passive component) และกลไกไฟฟ้าหรืออิเล็กโทรเมคคานิคอล (Electromechanical) การแบ่งแบบฟิสิกส์แอกทิฟคืออุปกรณ์ที่จ่ายไฟฟ้าให้ตัวเองได้ แพสซิฟคืออุปกรณ์ที่ไม่จ่ายไฟให้ตัวเอง สำหรับวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และการวิเคราะห์วงจรแบ่งโดยใช้สัญญาณไฟฟ้าที่ได้จากชิ้นส่วนนั้นโดย
* '''แอกทิฟ''' ใช้พลังงานไฟฟ้า (Energy) เพื่อทำงานและเพิ่มลดกำลังไฟฟ้า (Power) ในระบบได้
* '''แพสซิฟ''' ทำงานโดยไม่คำนึงถึงพลังงานไฟฟ้า (ยังมีประจุและความต่างศักย์อยู่) หากมีกระแสผ่านจะเพิ่มลดกำลังไฟฟ้าไม่ได้
* '''กลไกไฟฟ้า''' ใช้กลไกเพื่อทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าหรือกลับกันใช้ไฟฟ้าเพื่อขับเคลื่อนกลไก


==อุปกรณ์แอกทิฟ ==
ชิ้นส่วนหนึ่งชิ้นอาจจำแนกเป็นพาสซีฟ, หรือแอคทีฟหรือกลไกอิเล็กตรอน
===อุปกรณ์จากสารกึ่งตัวนำ===
*อุปกรณ์พาสซีฟหมายถึงอุปกรณ์ที่ทำงานโดยไม่ต้องจ่ายพลังงานไฟฟ้าหรือทำงานด้วยคุณสมบัติเฉพาะทางฟิสิกซ์ของตัวเองเช่นตัวต้านทาน
*อุปกรณ์แอคทีฟหมายถึงอุปกรณ์ที่ทำงานโดยต้องจ่ายพลังงานเช่นทรานซิสเตอร์หรืออุปกรณ์ผลิตพลังงานเช่นเซลล์แสงอาทิตย์
*อุปกรณ์กลไกอิเล็กตรอนหมายถึงอุปกรณ์ที่ทำงานโดยการใช้การเคลื่อนไหว เช่นคริสตัล(สั่นเพื่อผลิตความถี่), สวิทช์(ปิด/เปิด)

==อุปกรณ์ Active==

===สารกึ่งตัวนำ===
====ไดโอด====
====ไดโอด====
ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ในทิศทางเดียว
ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ในทิศทางเดียว

*[[ไดโอด]] - ให้กระแสไหลผ่านทางเดียว ใช้ทำวงจรเรียงกระแส
*[[ไดโอด]] - ให้กระแสไหลผ่านทางเดียว ใช้ทำวงจรเรียงกระแส
*[[สก็อตต์กี้ไดโอด]], ไดโอดพาหะร้อน - ไดโอดความเร็วสูง เมื่อกระแสไหลมีแรงดันตกคร่อมต่ำ
*[[ไดโอดแบบชอตต์กี|ชอตต์กีไดโอด]] - ไดโอดความเร็วสูง เมื่อกระแสไหลมีแรงดันตกคร่อมต่ำ
*[[ซีเนอร์ไดโอด]] - ยอมให้กระแสไหลผ่านในทิศทางย้อนกลับเพื่อให้แรงดันอ้างอิงคงที่
*[[ซีเนอร์ไดโอด]] - ให้กระแสไหลย้อนกลับเมื่อถึงความดันค่าหนึ่ง
*[[ไดโอดลดแรงดันไฟฟ้าชั่วคราว]] Transient voltage suppression diode (TVS) , Unipolar หรือไบโพลาร์ - ใช้ในการดูดซับ spikes แรงดันสูง
*[[ไดโอดลดแรงดันไฟฟ้าชั่วคราว]] Transient voltage suppression diode - มีแบบขั้วเดียวและสองขั้ว ใช้ลดสัญญาณยอดแหลมของความต่างศักย์
*[[วาแรกเตอร์]], จูนนิ่งไดโอด, Varicap ไดโอด, ไดโอดความจุแปรได้ - ไดโอดที่มีค่าความเก็บประจุ(capacitance) AC แปรผันตามแรงดันไฟ DC ที่ใช้
*[[วาแรกเตอร์|วาแรกเตอร์ไดโอด]] - ไดโอดที่มีความจุไฟฟ้ากระแสสลับแปรผันกับแรงดันไฟฟ้ากระแสตรง
*[[ไดโอดเปร่งแสง]], light-emitting diode (LED) - ไดโอดที่ปล่อยแสงออกมา
*[[ไดโอดเปล่งแสง]] (LED) - ไดโอดที่ปล่อยแสงออกมา
*[[เลเซอร์ไดโอด]] - เลเซอร์เซมิคอนดักเตอร์
*[[เลเซอร์ไดโอด|ไดโอดผลิตเลเซอร์]] - เลเซอร์เซมิคอนดักเตอร์
*[[โฟโต้ไดโอด]] - ให้กระแสผ่านเป็นสัดส่วนกับแสงที่ตกกระทบ
*[[ไดโอดพลังแสง]] - ให้กระแสผ่านเป็นสัดส่วนกับแสงที่ตกกระทบ
**[[โฟโต้ไดโอดถล่มถลาย]] - โฟโต้ไดโอดที่ผ่านกระแสแบบถล่มถลาย
**[[โฟโตไดโอดแบบถล่ม]] (Avalanche photodiode) - โฟโต้ไดโอดที่ผ่านกระแสแบบถล่ม
**[[เซลล์แสงอาทิตย์]], เซลล์โฟโต้โวลตาอิค(PV cell) - สร้างพลังงานจากแสง
**[[เซลล์แสงอาทิตย์]] - สร้างพลังงานจากแสง
*[[ไดแอค]] (Diode for Alternating Current), Trigger Diode, SIDAC – ใช้จุดชนวน SCR ([[ตัวเรียงกระแสควบคุมชนิดซิลิคอน]])
*[[ไดแอก]] (Diode for Alternating Current) – ใช้จุดชนวน SCR ([[ตัวเรียงกระแสควบคุมชนิดซิลิคอน]])
*[[ไดโอดกระแสคงที่]]
*[[ไดโอดกระแสคงที่]]
*[[ทันเนลไดโอด]]
*[[เพวเทียคูลเลอร์]] Peltier cooler – สารกึ่งตัวนำถ่ายเทความร้อน ใช้แทน heat sink
*[[เพวเทียคูลเลอร์]] Peltier cooler – สารกึ่งตัวนำถ่ายเทความร้อน ใช้แทน heat sink


บรรทัด 55: บรรทัด 52:
**IGBT (Insulated-gate bipolar transistor)
**IGBT (Insulated-gate bipolar transistor)


====วงจรรวม====

*แบบ[[ดิจิทัล]]
====แผงวงจรรวม====
**[[ลอจิกเกต]]

**[[ไมโครคอนโทรลเลอร์]]
*[[ดิจิทัล]]
*[[แอนะล็อก]]
*แบบ[[แอนะล็อก]]
**[[Hall effect sensor]] - ตรวจจับสนามแม่เหล็ก
**[[Hall effect sensor]] - ตรวจจับสนามแม่เหล็ก
**[[Current sensor]] - ตรวจจับกระแสที่ไหลผ่าน
**[[Current sensor]] - ตรวจจับกระแสที่ไหลผ่าน


====อุปกรณ์ Optoelectronic====
====อุปกรณ์ที่ตั้งโปรแกรมได้====
*[[PLD|ลอจิกเกตตั้งโปรแกรมได้]]

**[[FPGA|field programmable gate array]]
*ออปโตอิเล็กทรอนิกส์
**[[Complex programmable logic device]]
*[[Field-programmable analog array]]
====อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เชิงแสง====
*[[ออปโตอิเล็กทรอนิกส์]]
*Opto-Isolator, Opto-Coupler, Photo-Coupler - Photodiode, BJT, JFET, SCR, TRIAC *Zero-crossing TRIAC, Open collector IC, CMOS IC, solid state relay (SSR)
*Opto-Isolator, Opto-Coupler, Photo-Coupler - Photodiode, BJT, JFET, SCR, TRIAC *Zero-crossing TRIAC, Open collector IC, CMOS IC, solid state relay (SSR)
*Opto switch, Opto interupter, Optical switch, Optical Interupter, Photo switch, photo Interupter
*Opto switch, Opto interupter, Optical switch, Optical Interupter, Photo switch, photo Interupter
*จอแสดงผล LED - จอแสดงผลเจ็ดเซกเมนท์, จอแสดงผลสิบหกเซกเมนท์,จอแสดงผลดอทเมทริกซ์
*[[การแสดงผลแบบไดโอดเปล่งแสง|จอ LED]] - จอแสดงผลเจ็ดเซกเมนท์ จอแสดงผลสิบหกเซกเมนท์ จอแสดงผลดอทเมทริกซ์

===เทคโนโลยีจอแสดงผล===

*หลอดใส้ (หลอดไฟกระพริบ)
*จอแสดงผลเรืองแสง (Vacuum fluorescent display, VFD) (อักขระ สร้างล่วงหน้า, 7 เซกเมนท์, ดาวกระจาย)
*หลอดภาพรังสีคาโทด (Cathode Ray Tube, CRT) (dot matrix scan, รัศมีสแกน (เช่นเรดาร์), การสแกนโดยพลการ (เช่นสโคป)) (ขาวดำและสี)
*จอแอลซีดี (อักขระสร้างล่วงหน้า, dot matrix) (พาสซีฟ, TFT) (สีหรือขาวดำ)
*นีออน (เอกเทศ, 7 segment)
*ไฟแอลอีดี (เอกเทศ, 7 segment, จอแสดงผลดาวกระจาย, dot matrix)
*ตัวบ่งชี้การกระพือ (แบบตัวเลข, ข้อความพิมพ์ไว้ล่วงหน้า)
*จอแสดงผลพลาสม่า (dot matrix)

ที่เลิกใช้แล้ว

*หลอดใส้แสดงตัวเลข 7 segment (minitron)
*หลอดนิกซื่
*Dekatron (หลอดเรืองแสง)
*หลอดตาแมว
*Penetron (2 สีดูผ่านจอ CRT)


===ใช้สร้างภาพหรือแสง===
===หลอดสูญญากาศ (วาล์ว)===
====ที่ยังมีใช้อยู่====
*[[หลอดไส้]]
*[[หลอดสูญญากาศเรืองแสง]] (VFD)
*[[หลอดรังสีแคโทด]] (CRT)
*[[จอภาพผลึกเหลว]] (LCD)
**LCD ทรานซิสเตอร์แบบฟิล์มบาง (TFT LCD)
*หลอด[[นีออน]]
*[[แอลอีดี]]
*จอแผ่นพับ (Split-flap display)
*[[จอพลาสมา]]
*[[จอโอแอลอีดี]] (OLED)
*[[ไมโครแอลอีดี]] (MicroLED)
====ที่เลิกใช้แล้ว====
*นัมมิตรอน (Numitron)
*หลอดนิกซ์ซี (Nixie tube)
*เดคาตรอน (Dekatron)
*หลอดตาแมว (Magic eye tube)
<gallery class="center">
Light Bulb 3.jpg|หลอดไส้
Vacuum fluorescent display.JPG|ตัวอย่างจอ VFD
Lissajous-Figur 1 zu 3 (Oszilloskop).jpg|ตัวอย่างจอ CRT
LCDneg.jpg|จอ LCD ที่โดนโพลาไรส์
Light Emitting Polymer display partially failed.jpg|ตัวอย่างจอ LED
Split-flap display.jpg|จอแผ่นพับ
</gallery>
===หลอดสูญญากาศ===


บนพื้นฐานของการนำกระแสผ่านสูญญากาศ (ดู[[หลอดสูญญากาศ]])
บนพื้นฐานของการนำกระแสผ่านสูญญากาศ (ดู[[หลอดสูญญากาศ]])
บรรทัด 116: บรรทัด 124:
*X-ray tube – ผลิต x-rays
*X-ray tube – ผลิต x-rays


===ตัวคายประจุ===
===อุปกรณ์ discharge===
*หลอดระบายแก๊ส
*หลอดระบายแก๊ส


บรรทัด 139: บรรทัด 147:
*Physically carrying electrons - ตัวผลิตไฟฟ้าแบบ Van de Graaff หรือจากแรงเสียดทาน
*Physically carrying electrons - ตัวผลิตไฟฟ้าแบบ Van de Graaff หรือจากแรงเสียดทาน


==อุปกรณ์ Passive==
==อุปกรณ์แพสซิฟ==
===ตัวต้านทาน===
*[[ตัวต้านทาน]]
**[[ตัวต้านทานกำลัง]] - ตัวต้านทานขนาดใหญ่ กระจายความร้อนที่เกิดได้อย่างปลอดภัย
**DIP (Dual in-line package) ตัวต้านทานรวมหลายขา
*ตัวต้านทานปรับค่าได้
**[[รีโอสแตต]] (Rheostat) - ตัวต้านทานที่ปรับค่าได้สองขา (มักจะใช้สำหรับงานพลังงานสูง)
**[[โพเทนชิออมิเตอร์]] - ตัวต้านทานปรับค่าได้สามขา (ตัวแบ่งแรงดันปรับค่าได้)
**ทริมเมอร์ (Trim pot) - โพเทนชิออมิเตอร์ขนาดเล็ก มักจะสำหรับการปรับค่าภายในวงจร
**[[เทอร์มิสเตอร์]] - ตัวต้านทานที่ไวต่ออุณหภูมิ
**[[ฮิวมิสเตอร์]] - ความต้านทานเปลี่ยนตามความชื้น
**[[วาริสเตอร์|แวริสเตอร์]] ยอมให้กระแสไหลผ่านเมื่อถึงแรงดันไฟฟ้าค่าหนึ่ง
**[[เมมริสเตอร์]]
**[[โฟโตรีซิสเตอร์]] (Photoresistor)
*[[ตัวสร้างความร้อน]] (heater) - อุปกรณ์ให้ความร้อน
*[[ลวดความต้านทาน]] ลวด[[นิโครม]] - ลวดทำจากวัสดุที่มีความต้านทานสูงใช้ให้ความร้อน


===ตัวต้านทาน (Resistor)===
===ตัวเก็บประจุ===

ความต้านทานเป็นสัดส่วนโดยตรงกับแรงดันไฟฟ้า (กฎของโอห์ม) และผกผันกับกระแส

*[[ตัวต้านทาน]] - ค่าคงที่
**[[ตัวต้านทานกำลัง]] - ขนาดใหญ่ กระจายความร้อนที่เกิดได้อย่างปลอดภัย
**SIP หรือ DIP เครือข่ายต้านทาน - อาเรย์ของตัวต้านทานในหนึ่งแพคเกจ
*[[ตัวต้านทานปรับค่า]]
**[[รีโอสตัท]] (Rheostat) - ตัวต้านทานตัวแปรสองขา (มักจะสำหรับการใช้พลังงานสูง)
**[[โปเทนฉิโอมิเตอร์]] (Potentiometer) - ตัวต้านทานปรับค่าสามขา (ตัวแบ่งแรงดันปรับค่า)
**โปเทนจิ๋ว - โปเทนฉิโอมิเตอร์ขนาดเล็ก มักจะสำหรับการปรับภายใน
*ตัวสร้างความร้อน - ใช้อุปกรณ์ที่ให้ความร้อน
*ลวดความต้านทาน, ลวดนิโครม (nichrome) - ลวดทำจากวัสดุต้านทานสูงมักจะใช้เป็นอุปกรณ์ที่ให้ความร้อน
*[[เทอร์มิสเตอร์]] - ความต้านทานเปลี่ยนตามอุณหภูมิ
*[[ฮิวมิสเตอร์]] Humistor - ความต้านทานเปลี่ยนตามความชื้น
*[[วาริสเตอร์]] Varistor, ความต้านทานเปลี่ยนตามแรงดันไฟฟ้า,
*MOV - ผ่านกระแสเมื่อแรงดันที่มากเกินไป

===ตัวเก็บประจุ (Capacitor)===


[[ไฟล์:Verschiedene Kondensatoren 2.JPG|thumb|ตัวเก็บประจุที่แตกต่างกันสำหรับวงจรอิเล็กทรอนิกส์]]
[[ไฟล์:Verschiedene Kondensatoren 2.JPG|thumb|ตัวเก็บประจุที่แตกต่างกันสำหรับวงจรอิเล็กทรอนิกส์]]
ตัวเก็บประจุจะเก็บและปล่อยประจุไฟฟ้า ใช้สำหรับกรองสายส่งพลังงานไฟฟ้า, ปรับวงจรเรโซแนนซ์, และการปิดกั้นแรงดันไฟฟ้า DC ที่ไหลในวงจร AC ในงานอื่นๆอีกมากมาย
ตัวเก็บประจุจะเก็บและปล่อยประจุไฟฟ้า ใช้สำหรับกรองสายส่งพลังงานไฟฟ้า, ปรับวงจรเรโซแนนซ์, และการปิดกั้นแรงดันไฟฟ้า DC ที่ไหลในวงจร AC และในงานอื่นๆอีกมากมาย


*[[ตัวเก็บประจุ]]
*[[ตัวเก็บประจุ]]
**ตัวเก็บประจุในวงจรรวม
**Integrated capacitors
***MIS capacitor ทำจากชั้นของโลหะและฉนวนและสารกึ่งตัวนำ (metal+insulator+semiconductor)
***MIS capacitor
***Trench capacitor
***Trench capacitor
**ตัวเก็บประจุค่าคงที่
**Fixed capacitors
***Ceramic capacitor
***Ceramic capacitor
***Film capacitor
***Film capacitor
บรรทัด 175: บรรทัด 180:
****Tantalum electrolytic capacitor
****Tantalum electrolytic capacitor
****Niobium electrolytic capacitor
****Niobium electrolytic capacitor
***Polymer capacitor
****Polymer capacitor, OS-CON
***[[ตัวเก็บประจุยิ่งยวด]] (Electric double-layer capacitor)
***OS-CON
****Nanoionic supercapacitor
***Electric double-layer capacitor
****Lithium-ion capacitor
***Nanoionic supercapacitor
***Lithium-ion capacitor
***Mica capacitor
***Mica capacitor
***Vacuum capacitor
***Vacuum capacitor
บรรทัด 186: บรรทัด 190:
***Trimmer capacitor – ตัวเก็บประจุตัวเล็กๆใช้ในการปรับความถี่ภายในวงจรหลัก
***Trimmer capacitor – ตัวเก็บประจุตัวเล็กๆใช้ในการปรับความถี่ภายในวงจรหลัก
***Vacuum variable capacitor
***Vacuum variable capacitor
**ตัวเก็บประจุสำหรับการใช้งานพิเศษ
**Capacitors for special applications
***Power capacitor
***Power capacitor
***Safety capacitor
***Safety capacitor
บรรทัด 195: บรรทัด 199:
***Reservoir capacitor
***Reservoir capacitor
**Capacitor network (array)
**Capacitor network (array)
*Varicap diode – AC capacitance เปลี่ยนตาม DC voltage
*Varicap diode – AC capacitance จะเปลี่ยนตาม DC voltage


===อุปกรณ์เหนี่ยวนำแม่เหล็ก (Inductor)===
===ตัวเหนี่ยวนำ===
[[ไฟล์:Cable end.JPG|thumb|right|ferrite bead ที่ปลายของ [[Mini USB]] cable]]

[[ไฟล์:Ferrite bead no shell.jpg|thumb|right|ferrite bead ที่เปลือกหุ้มพลาสติกถูกถอดออก]]
*[[ขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้า|อินดักเตอร์]] Inductor [[ตัวเหนี่ยวนำ]], coil, choke
[[ไฟล์:Two inductors (437342545).jpg|thumb|ตัวเหนี่ยวนำ RF ที่พันอยู่บน ferrite bead และ ferrite bead แบบวางบนแผ่น PCB]]
*Variable inductor
[[ไฟล์:A collection of Snap-On - Clamp-on ferrite beads.jpg|thumb|ferrite bead แบบ snap-on/clamp-on หลายแบบ]]
*Saturable Inductor
*[[ขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้า]], [[ตัวเหนี่ยวนำ]] เช่น coil, choke
*[[หม้อแปลงไฟฟ้า|Transformer]]
*ตัวเหนี่ยวนำปรับค่าได้
*Magnetic amplifier (toroid)
*ตัวเหนี่ยวนำอิ่มตัว
*[[หม้อแปลงไฟฟ้า]]
*ตัวขยายสัญญาณด้วยแม่เหล็ก (แบบห่วงยาง)
*ferrite impedances, beads
*ferrite impedances, beads
*[[มอเตอร์|Motor]] / Generator
*[[มอเตอร์]]/[[เครื่องกำเนิดไฟฟ้า]]
*[[ขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้า|Solenoid]]
*[[ขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้า|Solenoid]]
*ลำโพงและไมโครโฟน
*ลำโพงและไมโครโฟน


=== เมมริสเตอร์ ===
===เครือข่าย===
ส่วนประกอบไฟฟ้าที่ผ่านประจุเป็นสัดส่วนกับแรงแม่เหล็กหรือสนามแม่เหล็ก และมันก็สามารถที่จะจดจำสถานะต้านทานก่อนหน้านี้ มันถึงได้มีชื่อว่าความจำบวกตัวต้านทาน (memory+resistor)
ส่วนประกอบที่ใช้มากกว่าหนึ่งชนิดของอุปกรณ์พาสซีฟ :


*Memristor
*RC เครือข่าย - รูปแบบ RC วงจรที่ใช้ในการ snubbers
*LC เครือข่าย - รูปแบบวงจรที่ใช้ในหม้อแปลงปรับได้และตัวกรองการรบกวนจากคลื่นวิทยุ ( RFI)


===วงจรข่าย===
===ทรานสดิวเซอร์, ตัวเซ็นเซอร์, ตัวตรวจจับ===
อุปกรณ์ที่เกิดจากการประกอบชิ้นส่วนแพสซิฟหลายตัว
*วงจรข่ายอาร์ซี (RC): สร้างจากวงจร RC (ตัวต้านทานกับตัวเก็บประจุ) ใช้ใน RC สนับเบอร์
*วงจรข่ายอาร์ซี (LC): สร้างจากวงจร LC (ตัวเหนี่ยวนำกับตัวเก็บประจุ) ใช้ใน หม้อแปลงปรับได้ และ RFI ฟิลเตอร์
===ตัวแปรสัญญาณ ตัวรับรู้ เครื่องตรวจหา===
[[ตัวแปรสัญญาณ]] แปลงการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพใดๆเป็นสัญญาณทางไฟฟ้าหรือกลับกัน
[[ตัวแปรสัญญาณ]] แปลงการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพใดๆเป็นสัญญาณทางไฟฟ้าหรือกลับกัน


บรรทัด 237: บรรทัด 247:
**Thermocouple, thermopile - ลวดที่สร้างแรงดันไฟฟ้าที่เป็นสัดส่วนกับอุณหภูมิเดลต้า
**Thermocouple, thermopile - ลวดที่สร้างแรงดันไฟฟ้าที่เป็นสัดส่วนกับอุณหภูมิเดลต้า
**[[เทอร์มิสเตอร์]] - ตัวต้านทานที่มีความต้านทานการเปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ, ขึ้น PTC หรือลง NTC
**[[เทอร์มิสเตอร์]] - ตัวต้านทานที่มีความต้านทานการเปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ, ขึ้น PTC หรือลง NTC
**เครื่องตรวจจับอุณหภูมิความต้านทาน ({{lang-en|Resistance Temperature Detector}}) หรือ RTD - ลวดที่มีความต้านทานเปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ
**เครื่องตรวจจับอุณหภูมิความต้านทาน ({{langx|en|Resistance Temperature Detector}}) หรือ RTD - ลวดที่มีความต้านทานเปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ
**bolometer - อุปกรณ์สำหรับวัดพลังงานของรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าที่ตกกระทบ
**bolometer - อุปกรณ์สำหรับวัดพลังงานของรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าที่ตกกระทบ
**Thermal Cutoff - สวิทช์ที่เปิดหรือปิดเมื่ออุณหภูมิเกิน
**Thermal Cutoff - สวิทช์ที่เปิดหรือปิดเมื่ออุณหภูมิเกิน
บรรทัด 245: บรรทัด 255:
**ไฮโกรมิเตอร์
**ไฮโกรมิเตอร์
*แม่เหล็กไฟฟ้า, แสงสว่าง
*แม่เหล็กไฟฟ้า, แสงสว่าง
**Photo resistor - ตัวต้านทานขึ้นอยู่กับแสง ({{lang-en|Light dependent resistor}}) หรือ LDR
**Photo resistor - ตัวต้านทานขึ้นอยู่กับแสง ({{langx|en|Light dependent resistor}}) หรือ LDR


===สายอากาศ===
===เสาอากาศ===
เสาอากาศใช้ส่งหรือรับคลื่นวิทยุ
เสาอากาศใช้ส่งหรือรับคลื่นวิทยุ
*Elemental dipole
*Elemental dipole
บรรทัด 257: บรรทัด 267:
*Biconical
*Biconical
*Feedhorn
*Feedhorn
===ชุดประกอบและมอดูล===
===ส่วนประกอบ, โมดูล===
ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์หลายชิ้นที่ประกอบขึ้นในอุปกรณ์และถูกใช้เป็นชิ้นส่วน
อุปกรณ์ที่เกิดจากหลายชิ้นส่วนประกอบกันโดยอุปกรณ์นี้นำไปต่อใช้ในวงจรอีกที
*[[ออสซิลเลเตอร์]]

*อุปกรณ์แสดงผล
*Oscillator
**จอ LCD
*Display devices
**[[โวลต์มิเตอร์]]
*Liquid crystal display (LCD)
*[[วงจรกรอง]] (filter)
*Digital voltmeters
===อุปกรณ์ช่วยทำต้นแบบ===
*Filter
*ตัวพันลวดต่อวงจร (Wire-wrap)
*Prototyping aids[edit]
*[[โพรโทบอร์ด|แผงวงจรทดลอง]] (Breadboard)
*Wire-wrap
*Breadboard


==เครื่องกลไฟฟ้า==
==เครื่องกลไฟฟ้า==
===อุปกรณ์ไพอีโซอิเล็กทริกและเรโซเนเตอร์===

===อุปกรณ์ piezoelectric คริสตัล resonators===
ส่วนประกอบแบบ Passive ที่ใช้ผลของ piezoelectric
ส่วนประกอบแบบ Passive ที่ใช้ผลของ piezoelectric


บรรทัด 283: บรรทัด 291:
**สำหรับ buzzers Piezo และไมโครโฟน, ดูทรานสดิวเซอร์คลาสข้างล่าง
**สำหรับ buzzers Piezo และไมโครโฟน, ดูทรานสดิวเซอร์คลาสข้างล่าง
[[ไฟล์:SchemaPiezo.gif|thumb|แสดง Piezoelecticity Effect]]
[[ไฟล์:SchemaPiezo.gif|thumb|แสดง Piezoelecticity Effect]]
===ขั้วไฟฟ้าและหัวต่อ===
===ขั้วต่อและหัวต่อ===
อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการเชื่อมต่อไฟฟ้า
อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการเชื่อมต่อไฟฟ้า


บรรทัด 292: บรรทัด 300:
*Pin header connector สำหรับ ribbon cable
*Pin header connector สำหรับ ribbon cable


===สายเคเบิล===
===สายเคเบิลชุดประกอบ===
สายเคเบิลที่มีหัวต่อหรือขั้วไฟฟ้าที่ปลายสาย
สายเคเบิลที่มีหัวต่อหรือขั้วไฟฟ้าที่ปลายสาย


บรรทัด 300: บรรทัด 308:


2 different tactile switches
2 different tactile switches
===สวิทช์===
===สวิตช์===


อุปกรณ์ที่ให้กระแสผ่านเมื่อ "ปิด" หรือ ไม่ให้ผ่านเมื่อ "เปิด"
อุปกรณ์ที่ให้กระแสผ่านเมื่อ "ปิด" หรือ ไม่ให้ผ่านเมื่อ "เปิด"
บรรทัด 364: บรรทัด 372:
==อ้างอิง==
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}
{{ชิ้นส่วนอิเล็กโทรนิกส์}}
{{ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Electronic Component}}
{{คอมมอนส์-หมวดหมู่|Electronic Component}}



รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 15:52, 3 ธันวาคม 2567

ตัวอย่างชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์

ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ (อังกฤษ: Electronic Component) คืออุปกรณ์หรือชิ้นส่วนใด ๆ ที่มีการทำงานที่ต้องเกี่ยวข้องกับอิเล็กตรอนหรือสนามแม่เหล็กไฟฟ้า อุปกรณ์เหล่านี้อาจเป็นอุปกรณ์เดี่ยวที่ทำหน้าที่เฉพาะเจาะจง (Discrete component) เช่นตัวต้านทานอันเดียวทั้งนี้อาจหมายถึงชิ้นส่วนที่ทำจากสารกึ่งตัวนำเพียงอย่างเดียว[1][2][3] อุปกรณ์เหล่านี้ต้องนำไปต่อรวมกันถึงจะใช้งานได้ อีกรูปแบบหนึ่งคือเป็นชิ้นส่วนในระบบอิเล็กทรอนิกส์เช่นทรานซิสเตอร์หลายล้านตัวที่รวมกันเบ็ดเสร็จในแผงวงจรรวมหรือหน่วยประมวลผลกลาง อุปกรณ์ประเภทนี้สามารถสร้างขึ้นมาได้หลายวิธีเช่น รวมอุปกรณ์เดี่ยวหลายตัวเป็นวงจรรวมไฮบริด [en] การประกอบแผง PCB หรือการสร้างทิคฟิล์ม [en] การสร้างแบบด้วยแสง [en] การปลูกฟิล์มบาง [en]เป็นต้น อุปกรณ์ทั้งสองรูปแบบคือทั้งแบบเดี่ยวและแบบวงจรรวมมักมาพร้อมกับดาตาชีท (Datasheet) เพื่อระบุรายละเอียดต่าง ๆ เช่นวิธีการใช้งาน ขีดความสามารถของตัวมัน อุปกรณ์เหล่านี้จะมีลักษณะสำคัญคือมีขั้วต่อหรือที่เรียกว่าขาซึ่งใช้ในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์อื่นเพื่อประกอบเป็นวงจรไฟฟ้าและนำไปใช้งานด้านต่าง ๆ เช่น เครื่องขยายหรือแอมป์ เครื่องรับวิทยุ และออสซิลเลเตอร์

การจำแนกประเภท

[แก้]

ชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์สามารถจำแนกได้ 3 ประเภท แอกทิฟ (Active component) แพสซิฟ (Passive component) และกลไกไฟฟ้าหรืออิเล็กโทรเมคคานิคอล (Electromechanical) การแบ่งแบบฟิสิกส์แอกทิฟคืออุปกรณ์ที่จ่ายไฟฟ้าให้ตัวเองได้ แพสซิฟคืออุปกรณ์ที่ไม่จ่ายไฟให้ตัวเอง สำหรับวิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และการวิเคราะห์วงจรแบ่งโดยใช้สัญญาณไฟฟ้าที่ได้จากชิ้นส่วนนั้นโดย

  • แอกทิฟ ใช้พลังงานไฟฟ้า (Energy) เพื่อทำงานและเพิ่มลดกำลังไฟฟ้า (Power) ในระบบได้
  • แพสซิฟ ทำงานโดยไม่คำนึงถึงพลังงานไฟฟ้า (ยังมีประจุและความต่างศักย์อยู่) หากมีกระแสผ่านจะเพิ่มลดกำลังไฟฟ้าไม่ได้
  • กลไกไฟฟ้า ใช้กลไกเพื่อทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้าหรือกลับกันใช้ไฟฟ้าเพื่อขับเคลื่อนกลไก

อุปกรณ์แอกทิฟ

[แก้]

อุปกรณ์จากสารกึ่งตัวนำ

[แก้]

ไดโอด

[แก้]

ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ในทิศทางเดียว

ทรานซิสเตอร์

[แก้]

ทรานซิสเตอร์ถือว่าเป็นสิ่งประดิษฐ์ของศตวรรษที่ยี่สิบที่ทำให้วงจรอิเล็กทรอนิกส์เปลี่ยนไปตลอดกาล ทรานซิสเตอร์เป็นอุปกรณ์สารกึ่งตัวนำที่ใช้ในการขยายสัญญาณและเปิดปิดสัญญาณอิเล็กทรอนิกส์และพลังงานไฟฟ้า

  • ทรานซิสเตอร์
  • ทรานซิสเตอร์สนามไฟฟ้า (Field-effect Transistor,FET) unipolar ใช้ขั้วเดียว N หรือ P ทำงานเนื่องจากผลของสนามไฟฟ้า
    • JFET (Junction Field-Effect Transistor) – N-CHANNEL or P-CHANNEL
    • MOSFET (Metal Oxide Semiconductor FET)
    • MESFET (MEtal Semiconductor FET)
    • HEMT (High electron mobility transistor)
  • ทายริสเตอร์ ชื่อทั่วไปของ SCR
    • ตัวเรียงกระแสควบคุมชนิดซิลิคอน Silicon-controlled Rectifier (SCR, ชื่อทางการค้า) - ผ่านกระแสเมื่อมีแรงดันไฟฟ้าที่ประตูเพียงพอ
    • TRIAC (triode สำหรับกระแสสลับ) - ทายริสเตอร์สองทิศทาง
    • Unijunction transistor (UJT)
    • Programmable Unijunction transistor (PUT)
    • SIT (Static induction transistor)
    • SITh (Static induction thyristor
  • Composite transistors
    • IGBT (Insulated-gate bipolar transistor)

วงจรรวม

[แก้]

อุปกรณ์ที่ตั้งโปรแกรมได้

[แก้]

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เชิงแสง

[แก้]
  • ออปโตอิเล็กทรอนิกส์
  • Opto-Isolator, Opto-Coupler, Photo-Coupler - Photodiode, BJT, JFET, SCR, TRIAC *Zero-crossing TRIAC, Open collector IC, CMOS IC, solid state relay (SSR)
  • Opto switch, Opto interupter, Optical switch, Optical Interupter, Photo switch, photo Interupter
  • จอ LED - จอแสดงผลเจ็ดเซกเมนท์ จอแสดงผลสิบหกเซกเมนท์ จอแสดงผลดอทเมทริกซ์

ใช้สร้างภาพหรือแสง

[แก้]

ที่ยังมีใช้อยู่

[แก้]

ที่เลิกใช้แล้ว

[แก้]
  • นัมมิตรอน (Numitron)
  • หลอดนิกซ์ซี (Nixie tube)
  • เดคาตรอน (Dekatron)
  • หลอดตาแมว (Magic eye tube)

หลอดสูญญากาศ

[แก้]

บนพื้นฐานของการนำกระแสผ่านสูญญากาศ (ดูหลอดสูญญากาศ)

  • ไดโอดหรือหลอดเรียงกระแส

หลอดขยาย

  • Triode
  • Tetrode
  • Pentode
  • Hexode
  • Pentagrid
  • Octode
  • Microwave tubes
    • Klystron
    • Magnetron
    • Traveling-wave tube

ตัวตรวจจับแสงหรือปล่อยแสง

  • Phototube or Photodiode – เทียบเท่ากับโฟโต้ไดโอดสารกึ่งตัวนำ
  • Photomultiplier tube – Phototube ที่มี gain ภายใน
  • Cathode ray tube (CRT) หรือจอภาพโทรทัศน์
  • Vacuum fluorescent display (VFD) – จอแสดงผลสมัยใหม่ขนาดเล็กไม่ใช้การสแกน
  • Magic eye tube – จอ CRT ขนาดเล็กนำมาใช้เป็นเครื่องวัดการหาสถานีวิทยุ (ล้าสมัย)
  • X-ray tube – ผลิต x-rays

ตัวคายประจุ

[แก้]
  • หลอดระบายแก๊ส

เลิกใช้

  • rectifier ปรอทอาร์ค
  • หลอดควบคุมแรงดันไฟฟ้า
  • หลอดนิกซี่
  • Thyratron
  • Ignitron

แหล่งพลังงาน

[แก้]

แหล่งที่มาของพลังงานไฟฟ้า:

อุปกรณ์แพสซิฟ

[แก้]

ตัวต้านทาน

[แก้]

ตัวเก็บประจุ

[แก้]
ตัวเก็บประจุที่แตกต่างกันสำหรับวงจรอิเล็กทรอนิกส์

ตัวเก็บประจุจะเก็บและปล่อยประจุไฟฟ้า ใช้สำหรับกรองสายส่งพลังงานไฟฟ้า, ปรับวงจรเรโซแนนซ์, และการปิดกั้นแรงดันไฟฟ้า DC ที่ไหลในวงจร AC และในงานอื่นๆอีกมากมาย

  • ตัวเก็บประจุ
    • ตัวเก็บประจุในวงจรรวม
      • MIS capacitor ทำจากชั้นของโลหะและฉนวนและสารกึ่งตัวนำ (metal+insulator+semiconductor)
      • Trench capacitor
    • ตัวเก็บประจุค่าคงที่
      • Ceramic capacitor
      • Film capacitor
      • Electrolytic capacitor
        • Aluminum electrolytic capacitor
        • Tantalum electrolytic capacitor
        • Niobium electrolytic capacitor
        • Polymer capacitor, OS-CON
      • ตัวเก็บประจุยิ่งยวด (Electric double-layer capacitor)
        • Nanoionic supercapacitor
        • Lithium-ion capacitor
      • Mica capacitor
      • Vacuum capacitor
    • Variable capacitor – สามารถปรับค่า capacitance ได้
      • Tuning capacitor – ใช้ปรับความถี่หาสถานีของวิทยุ หรือปรับความถี่ของวงจรออสซิลเลเตอร์ หรือวงจรปรับแต่งความถี่
      • Trimmer capacitor – ตัวเก็บประจุตัวเล็กๆใช้ในการปรับความถี่ภายในวงจรหลัก
      • Vacuum variable capacitor
    • ตัวเก็บประจุสำหรับการใช้งานพิเศษ
      • Power capacitor
      • Safety capacitor
      • Filter capacitor
      • Light-emitting capacitor
      • Motor capacitor
      • Photoflash capacitor
      • Reservoir capacitor
    • Capacitor network (array)
  • Varicap diode – AC capacitance จะเปลี่ยนตาม DC voltage

ตัวเหนี่ยวนำ

[แก้]
ferrite bead ที่ปลายของ Mini USB cable
ferrite bead ที่เปลือกหุ้มพลาสติกถูกถอดออก
ตัวเหนี่ยวนำ RF ที่พันอยู่บน ferrite bead และ ferrite bead แบบวางบนแผ่น PCB
ferrite bead แบบ snap-on/clamp-on หลายแบบ

เมมริสเตอร์

[แก้]

ส่วนประกอบไฟฟ้าที่ผ่านประจุเป็นสัดส่วนกับแรงแม่เหล็กหรือสนามแม่เหล็ก และมันก็สามารถที่จะจดจำสถานะต้านทานก่อนหน้านี้ มันถึงได้มีชื่อว่าความจำบวกตัวต้านทาน (memory+resistor)

  • Memristor

วงจรข่าย

[แก้]

อุปกรณ์ที่เกิดจากการประกอบชิ้นส่วนแพสซิฟหลายตัว

  • วงจรข่ายอาร์ซี (RC): สร้างจากวงจร RC (ตัวต้านทานกับตัวเก็บประจุ) ใช้ใน RC สนับเบอร์
  • วงจรข่ายอาร์ซี (LC): สร้างจากวงจร LC (ตัวเหนี่ยวนำกับตัวเก็บประจุ) ใช้ใน หม้อแปลงปรับได้ และ RFI ฟิลเตอร์

ตัวแปรสัญญาณ ตัวรับรู้ เครื่องตรวจหา

[แก้]

ตัวแปรสัญญาณ แปลงการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพใดๆเป็นสัญญาณทางไฟฟ้าหรือกลับกัน

ตัวเซ็นเซอร์ (หรือตัวตรวจจับ) เป็นทรานสดิวเซอร์ที่ตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมโดยการเปลี่ยนสมบัติทางไฟฟ้​​าหรือโดยการสร้างสัญญาณไฟฟ้า

ทรานสดิวเซอร์ที่อยู่ในรายการต่อไปนี้เป็นชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์เดี่ยวๆ (ตรงข้ามกับชุดสมบูรณ์) และเป็นอุปกรณ์พาสซีฟ (ดูอุปกรณ์กึ่งตัวนำและหลอดสำหรับอุปกรณ์แอคทีฟ) เฉพาะที่พบมากที่สุดอยู่ในรายการข้างล่างนี้

  • เสียงออดิโอ (ดูอุปกรณ์ piezoelectric ด้วย)
    • ลำโพง - อุปกรณ์แม่เหล็กหรือ piezoelectric เพื่อสร้างเสียงเต็มรูปแบบ
    • บัซเซอร์ Buzzer - sounder แม่เหล็กหรือ piezoelectric เพื่อสร้างเสียง
  • ตำแหน่ง, การเคลื่อนไหว
    • Linear variable differential transformer (LVDT) - แม่เหล็ก - ตรวจจับตำแหน่งเชิงเส้น
    • Rotary encoder, Shaft Encoder - ออฟติคอล, แม่เหล็ก, ความต้านทานหรือสวิทช์ - ตรวจสอบมุมที่แน่นอนหรือมุมที่สัมพันธ์กันหรือความเร็วในการหมุน
    • Inclinometer - Capacitive - ตรวจจับมุมเมื่อเทียบกับแรงโน้มถ่วง
    • เซ็นเซอร์การเคลื่อนไหว, เซ็นเซอร์สั่นสะเทือน
    • เครื่องวัดการไหล - ตรวจจับการไหลของของเหลวหรือก๊าซ
    • แรง, แรงบิด
    • Strain gauge - Piezoelectric หรือความต้านทาน - ตรวจสอบการบีบ, การยืด, การบิด
    • Accelerometer - Piezoelectric - ตรวจจับความเร่ง, แรงโน้มถ่วง
ชายคนนี้ใช้เครื่อง metal detector เพื่อหาสะเก็ดดาวตกในคานาดา
  • อุณหภูมิ
    • Thermocouple, thermopile - ลวดที่สร้างแรงดันไฟฟ้าที่เป็นสัดส่วนกับอุณหภูมิเดลต้า
    • เทอร์มิสเตอร์ - ตัวต้านทานที่มีความต้านทานการเปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ, ขึ้น PTC หรือลง NTC
    • เครื่องตรวจจับอุณหภูมิความต้านทาน (อังกฤษ: Resistance Temperature Detector) หรือ RTD - ลวดที่มีความต้านทานเปลี่ยนแปลงตามอุณหภูมิ
    • bolometer - อุปกรณ์สำหรับวัดพลังงานของรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าที่ตกกระทบ
    • Thermal Cutoff - สวิทช์ที่เปิดหรือปิดเมื่ออุณหภูมิเกิน
  • สนามแม่เหล็ก (ดู Hall Effect ในเซมิคอนดักเตอร์)
    • Magnetometer เกาส์มิเตอร์
  • ความชื้น
    • ไฮโกรมิเตอร์
  • แม่เหล็กไฟฟ้า, แสงสว่าง
    • Photo resistor - ตัวต้านทานขึ้นอยู่กับแสง (อังกฤษ: Light dependent resistor) หรือ LDR

สายอากาศ

[แก้]

เสาอากาศใช้ส่งหรือรับคลื่นวิทยุ

  • Elemental dipole
  • Yagi
  • Phased array
  • Loop antenna
  • Parabolic dish
  • Log-periodic dipole array
  • Biconical
  • Feedhorn

ชุดประกอบและมอดูล

[แก้]

อุปกรณ์ที่เกิดจากหลายชิ้นส่วนประกอบกันโดยอุปกรณ์นี้นำไปต่อใช้ในวงจรอีกที

อุปกรณ์ช่วยทำต้นแบบ

[แก้]

เครื่องกลไฟฟ้า

[แก้]

อุปกรณ์ไพอีโซอิเล็กทริกและเรโซเนเตอร์

[แก้]

ส่วนประกอบแบบ Passive ที่ใช้ผลของ piezoelectric

  • ส่วนประกอบที่ใช้ผลของ piezoelectric ในการสร้างหรือกรองความถี่สูง
    • คริสตัล - คริสตัลเซรามิกที่ใช้ในการสร้างความถี่ได้อย่างแม่นยำ (ดูคลาสโมดูลด้านล่างสำหรับ oscillator ที่สมบูรณ์)
    • เซรามิกเรโซเนเตอร์ - เป็นผลึกเซรามิกที่ใช้ในการสร้างความถี่กึ่งแม่นยำ
    • ตัวกรองเซรามิก - เป็นผลึกเซรามิกที่ใช้ในการกรองแถบความถี่เช่นในเครื่องรับวิทยุ
    • ตัวกรองพื้นผิวอะคูสติกคลื่น (Surface Acoustic Wave, SAW)
  • ส่วนประกอบที่ใช้ผลเป็นทรานสดิวเซอร์เครื่องกล
    • มอเตอร์อัลตราโซนิก - มอเตอร์ไฟฟ้าที่ใช้ผล piezoelectric
    • สำหรับ buzzers Piezo และไมโครโฟน, ดูทรานสดิวเซอร์คลาสข้างล่าง
แสดง Piezoelecticity Effect

ขั้วต่อและหัวต่อ

[แก้]

อุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการเชื่อมต่อไฟฟ้า

  • Terminal ขั้วไฟฟ้า
  • Connector หัวต่อ
  • Socket เต้าเสียบ
  • Screw terminal, Terminal Blocks
  • Pin header connector สำหรับ ribbon cable

สายเคเบิลชุดประกอบ

[แก้]

สายเคเบิลที่มีหัวต่อหรือขั้วไฟฟ้าที่ปลายสาย

  • สายไฟ - power cord
  • สายแพทช์ - patch cord
  • สายทดสอบ - test lead

2 different tactile switches

สวิตช์

[แก้]

อุปกรณ์ที่ให้กระแสผ่านเมื่อ "ปิด" หรือ ไม่ให้ผ่านเมื่อ "เปิด"

ตัวอย่างไมโครสวิทช์
  • สวิทช์ - สวิทช์ที่ดำเนินการด้วยตนเอง
    • คำอธิบายของไฟฟ้​​า: SPST, SPDT, DPST, DPDT, NPNT (ทั่วไป)
    • เทคโนโลยี: สวิทช์เลื่อน, toggle สวิตช์, Rocker สวิทช์, Rotary สวิทช์, Push button สวิทช์
  • Keypad - อาร์เรย์ของ push button สวิทช์
  • DIP สวิทช์ - อาร์เรย์ขนาดเล็กของสวิทช์สำหรับการตั้งค่าภายใน
  • Footswitch – Foot-operated switch
  • Knife switch – สวิทช์ที่ตัวนำไม่ได้ห่อหุ้ม
  • Micro switch – ทำงานด้วยการดีดด้วยนิ้ว
  • Limit switch – ทำงานเมื่อการเคลื่อนที่ถึงตำแหน่งที่ไกลสุดแล้ว
  • Mercury switch – สวิทช์ที่ตรวจสอบการเอียง
  • Centrifugal switch – สวิทช์ที่ตรวจสอบแรงหนีศูนย์เนื่องจากการหมุน
  • Relay – สวิทช์ที่ทำงานด้วยกระแสไฟฟ้า (เครื่องกล, ดู Solid State Relay ด้านล่างด้วย)
  • Reed switch – ทำงานด้วยแรงแม่เหล็ก
  • Thermostat – ทำงานด้วยอุณหภูมิ
  • Humidistat – ทำงานด้วยความชื้น
  • Circuit Breaker – สวิทช์จะเปิดเนื่องจากกระแสเกิน หรือเป็นฟิวส์ที่รีเซทได้

อุปกรณ์ป้องกัน

[แก้]

อุปกรณ์แบบพาสซีฟที่ใช้ป้องกันวงจรจากกระแสหรือแรงดันไฟฟ้ามากเกินไป:

Gas discharge tube
  • ฟิวส์ - ป้องกันกระแสเกิน ใช้งานได้เพียงครั้งเดียว
  • Circuit Breaker - ฟิวส์ที่รีเซทได้ ในรูปแบบของสวิทช์กลไก
  • ฟิวส์รีเซทได้ หรือ PolySwitch - ตัดวงจรโดยใช้อุปกรณ์โซลิดสเตท
  • อุปกรณ์ป้องกันการผิดปกติของกราวด์หรือกระแสตกค้าง - ตัวตัดวงจรที่มีความไวต่อกระแสไฟผ่านไปที่พื้นดิน
  • เมทัลออกไซด์วาริสเตอร์ (MOV), ตัวซับกระแสกระชาก, TVS - การป้องกันแรงดันเกิน
  • ตัวจำกัดกระแสต่อเนื่อง - ป้องกันการกระชากกระแสสูง
  • หลอดระบายประจุด้วยแก๊ส - Gas discharge tube ป้องกันไฟฟ้าแรงสูงกระชาก
  • ประกายข้ามช่องว่าง - Spark gap ขั้วไฟฟ้าที่มีช่องว่างให้แรงดันไฟฟ้าสูงกระโดดข้าม
  • สายล่อฟ้า - spark gap ที่ใช้ในการป้องกันฟ้าผ่า

ส่วนประกอบเครื่องกล

[แก้]
  • Enclosure (ไฟฟ้า) - ภาชนะปิดผนึก เช่น enclosure ที่ใส่หัวต่อของสายใยแก้วนำแสง
  • Heat Sink
  • พัดลม
  • แผงวงจรพิมพ์
  • โคมไฟ
  • Waveguide
  • memristor

เลิกใช้

  • เครื่องขยายคาร์บอน (ดูไมโครโฟนคาร์บอนที่ใช้เป็นเครื่องขยายสัญญาณ)
  • คาร์บอนโค้ง (อุปกรณ์ความต้านทานเชิงลบ)
  • เครื่องปั่นไฟ (เครื่องกำเนิด RF โบราณ)

สัญลักษณ์มาตรฐาน

[แก้]

ใน circuit diagram อุปกรณ์อีเล็กทรอนิกส์ถูกกำหนดให้ใช้สัญลักษณ์ที่เป็นมาตรฐานแทนตัวของอุปกรณ์นั้นๆ

ดูเพิ่ม

[แก้]
  • Circuit design
  • Circuit diagram
  • Electrical element
  • Electronic components' Datasheets
  • IEEE 315-1975

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Definition of discrete component".
  2. Principles of VLSI and CMOS Integrated Circuits. S. Chand. 2016. ISBN 978-81-219-4000-9.
  3. Passive and Discrete Circuits: Newnes Electronics Circuits Pocket Book, Volume 2. Elsevier. 23 June 2016. ISBN 978-1-4832-9198-7.