ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ"
ล โรบอต เพิ่ม: mg:Hefaka; ปรับแต่งให้อ่านง่าย |
ล แทนที่ {lang-??} ด้วย {langx|??} |
||
(ไม่แสดง 43 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 32 คน) | |||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
⚫ | |||
{{รอการตรวจสอบ}} |
|||
[[ไฟล์:Nile River and delta from orbit.jpg|ภาพถ่ายจากดาวเทียมปาก[[แม่น้ำไนล์]]|thumb|250px|right]] |
[[ไฟล์:Nile River and delta from orbit.jpg|ภาพถ่ายจากดาวเทียมปาก[[แม่น้ำไนล์]]|thumb|250px|right]] |
||
[[ไฟล์:Ganges River Delta, Bangladesh, India.jpg|ภาพถ่ายจากดาวเทียมปาก[[แม่น้ำคงคา]]|thumb|250px|right]] |
[[ไฟล์:Ganges River Delta, Bangladesh, India.jpg|ภาพถ่ายจากดาวเทียมปาก[[แม่น้ำคงคา]]|thumb|250px|right]] |
||
[[ไฟล์:Salween delta.jpg|ภาพถ่ายจากดาวเทียมปาก[[แม่น้ำสาละวิน]]|thumb|250px|right]] |
[[ไฟล์:Salween delta.jpg|ภาพถ่ายจากดาวเทียมปาก[[แม่น้ำสาละวิน]]|thumb|250px|right]] |
||
⚫ | '''ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ''' ( |
||
⚫ | '''ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ''' ({{langx|en|river delta}}) จะเกิดเฉพาะกับแม่น้ำที่พัดพาเอาตะกอนขนาดเล็ก ๆ จำพวกทรายละเอียดและโคลนมากับลำน้ำเป็นปริมาณมาก แล้วมาตกตะกอนทับถมกันบริเวณปากแม่น้ำ เมื่อแม่น้ำไหลลงสู่ทะเลหรือ[[ทะเลสาบ]] ความเร็วของน้ำในแม่น้ำจะลดลงและตะกอนที่แม่น้ำพัดมาจะค่อย ๆ สะสมตัวบริเวณดังกล่าว ในบางแห่งขณะ[[น้ำขึ้นน้ำลง]] กระแสน้ำจะพัดพาเอาทรายและโคลนออกไปสู่ทะเลไกลออกไปจึงไม่มีดินดอนปากแม่น้ำเกิดขึ้น ถ้าในกรณีที่กระแสน้ำขึ้นลงไม่ส่งอิทธิพลรุนแรง แม่น้ำก็จะพัดพาเอาตะกอนมาสะสมอยู่เรื่อย ๆ โดยทรายหยาบจะตกตะกอนลงเป็นพวกแรกและนาน ๆ เข้าก็จะปรากฏเป็นสันทรายบริเวณปากแม่น้ำ ในที่สุดแม่น้ำก็จะแตกแขนงออกเป็นสองสาขาในเวลาต่อมา ในเวลาต่อมาแม่น้ำทั้งสองสาขาก็จะถูกปิดกั้นด้วยสันทราย ทำให้สาขาแม่น้ำแตกออกเป็นสาขาลำน้ำย่อยลงไปอีก ดินดอนโดยทั่วไปมักมีสาขาของลำน้ำที่แตกแขนงจากแม่น้ำใหญ่ โคลนเนื้อละเอียดจะถูกพัดพาไปไกลจากสันทรายและตกตะกอนสะสมตัวกันแผ่คลุมท้องทะเลหรือทะเลสาบในบริเวณที่กว้างขวางเป็นรูปคล้ายพัดหรืองอกตัวลงทะเลตลอดเวลา โดยธรรมดาแล้วแม่น้ำทุกสายที่ไหลลงทะเลหรือทะเลสาบจะมีดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเกิดขึ้นเสมอ ที่เราเรียกกันว่า "เดลต้า" (delta) เพราะว่าบริเวณดังกล่าวมีรูปร่างคล้าย[[สามเหลี่ยม]] ซึ่งถึงแม้ว่าดินดอนจะไม่เป็นรูปสามเหลี่ยมนักภูมิศาสตร์โดยทั่วไปก็เรียกว่า "เดลต้า" แม่น้ำสายใหญ่ ๆ เช่นในเอเชีย เช่น [[แม่น้ำไทกรีส]]และ[[ยูเฟรตีส]]ใน[[อิรัก]] ซึ่งเดิมเมืองโบราณชื่ออัวร์ถูกสร้างขึ้นเมื่อประมาณ 6,000 ปีที่แล้วอยู่ติดทะเล แต่ปัจจุบันเมืองดังกล่าวอยู่ลึกเข้าไปในแผ่นดิน 240 กิโลเมตร{{ต้องการอ้างอิงตรงนี้}} แม่น้ำพรหมบุตรใน[[อินเดีย]]และ[[บังคลาเทศ]] ดินดอนบริเวณปาก[[แม่น้ำคงคา]]และ[[แม่น้ำพรหมบุตร]]แผ่ลงไปใน[[ทะเล]]มีระยะทางยาวกว่า 350 กิโลเมตร<ref>{{Citation|title=สามเหลี่ยมปากแม่น้ำคงคา|date=2022-09-20|url=https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B3%E0%B8%84%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%B2|work=วิกิพีเดีย|language=th|access-date=2024-10-04}}</ref> ส่วน[[แม่น้ำอิระวดี]]ใน[[พม่า]] ตะกอนพัดมาสะสมโดยบริเวณดังกล่าวทำให้แผ่นดินงอกออกไปในทะเลปีละประมาณ 55 เมตร<ref>{{Cite web|date=2008-05-20|title=Myanmar death toll soars, devastation "huge" {{!}} International {{!}} Reuters|url=http://www.reuters.com/article/homepageCrisis/idUSBKK265679._CH_.2400?rpc=401&|website=web.archive.org|access-date=2024-10-04|archive-date=2008-05-20|archive-url=https://web.archive.org/web/20080520190715/http://www.reuters.com/article/homepageCrisis/idUSBKK265679._CH_.2400?rpc=401&|url-status=bot: unknown}}</ref> เป็นต้น |
||
⚫ | |||
== ประเภท == |
|||
{{Link FA|it}} |
|||
มีการจำแนกตามตัวควบคุมหลักในการตกสะสมตัวของตะกอน ซึ่งโดยปกติจะเป็นทั้ง [[แม่น้ำ]] [[คลื่น]]และกระแสน้ำขึ้นลง<ref>http://www.maine.gov/doc/nrimc/mgs/explore/surficial/facts/dec03.htm</ref> ปัจจัยในการควบคุมเหล่านี้มีผลต่อรูปร่างของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ |
|||
=== การกระทำของคลื่นที่โดดเด่น === |
|||
[[af:Rivierdelta]] |
|||
มีการกัดเซาะเนื่องจากอิทธิพลของคลื่นเป็นตัวควบคุมรูปร่างของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ แม้ว่าจะมีการกัดเซาะ แต่เมื่อเทียบปริมาณการสะสมตัวของตะกอนกับการถูกกัดเซาะ ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำก็ยังสามารถสะสมตะกอนออกสู่ทะเลได้ ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำที่มีการกระทำของคลื่นที่โดดเด่น เช่น ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนล์ มักมีรูปลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม |
|||
[[an:Delta fluvial]] |
|||
[[ar:دلتا]] |
|||
=== การกระทำของกระแสน้ำขึ้นลงที่โดดเด่น === |
|||
[[be-x-old:Дэльта]] |
|||
การกัดเซาะมีความสำคัญต่อดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำที่มีความโดดเด่นของกระแสน้ำขึ้นลงด้วยเช่นกัน อย่างเช่น สามเหลี่ยมปากแม่น้ำคงคา ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่จะอยู่ใต้น้ำและจะมีแนวสันทรายที่เด่นชัด ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำที่เกิดจากการกระทำของกระแสน้ำขึ้นลง มีความแตกต่างจากการกระทำของคลื่นและแม่น้ำ กล่าวคือจะมีการแตกแขนงของแม่น้ำสายหลักไม่มาก ในขณะที่คลื่นหรือแม่น้ำจะมีการแตกสาขาของทางน้ำที่มีตะกอนทรายละเอียดมาปิดทับหรือเป็นทางน้ำที่พัฒนาขึ้นมาใหม่ การแตกสาขาของทางน้ำบนดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ จะเกิดในช่วงที่บริเวณโดยรอบมีปริมาณน้ำมาก เช่น น้ำท่วม หรือการเกิดพายุ ทำให้เกิดการสะสมของตะกอนทรายละเอียดอย่างช้า ๆ จนกระทั่งมีอัตราการสะสมตะกอนคงที่ |
|||
[[bg:Делта (география)]] |
|||
[[bn:বদ্বীপ]] |
|||
== อ้างอิง == |
|||
[[br:Delta (stêr)]] |
|||
⚫ | |||
[[bs:Riječna delta]] |
|||
[[ca:Delta fluvial]] |
|||
{{สมุทรศาสตร์กายภาพ}} |
|||
[[cs:Říční delta]] |
|||
⚫ | |||
[[da:Floddelta]] |
|||
[[หมวดหมู่:ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ| ]] |
|||
[[de:Flussdelta]] |
|||
[[en:River delta]] |
|||
[[eo:Riverdelto]] |
|||
[[es:Delta fluvial]] |
|||
[[et:Delta]] |
|||
[[eu:Ibai delta]] |
|||
[[ext:Delta]] |
|||
[[fa:دلتا (جغرافیا)]] |
|||
[[fi:Suisto]] |
|||
[[fr:Delta (fleuve)]] |
|||
[[gl:Delta fluvial]] |
|||
[[he:דלתה]] |
|||
[[hi:नदीमुख-भूमि]] |
|||
[[hr:Riječna delta]] |
|||
[[hu:Deltatorkolat]] |
|||
[[id:Delta sungai]] |
|||
[[io:Delto]] |
|||
[[it:Delta fluviale]] |
|||
[[ja:三角州]] |
|||
[[ka:დელტა]] |
|||
[[ko:삼각주]] |
|||
[[ku:Delta (erdnîgarî)]] |
|||
[[lt:Upės delta]] |
|||
[[lv:Upes delta]] |
|||
[[mg:Hefaka]] |
|||
[[ms:Delta]] |
|||
[[nl:Rivierdelta]] |
|||
[[nn:Elvedelta]] |
|||
[[no:Elvedelta]] |
|||
[[pl:Delta rzeki]] |
|||
[[pt:Delta]] |
|||
[[ro:Deltă]] |
|||
[[ru:Дельта реки]] |
|||
[[sd:دريائي ٽڪور]] |
|||
[[simple:River delta]] |
|||
[[sk:Delta (rieka)]] |
|||
[[sq:Delta lumore]] |
|||
[[sr:Rečna delta]] |
|||
[[sv:Floddelta]] |
|||
[[sw:Delta]] |
|||
[[tr:Delta (coğrafya)]] |
|||
[[uk:Річкова дельта]] |
|||
[[ur:دہانہ]] |
|||
[[vec:Delta fluviałe]] |
|||
[[zh:三角洲]] |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 23:23, 9 พฤศจิกายน 2567
ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ (อังกฤษ: river delta) จะเกิดเฉพาะกับแม่น้ำที่พัดพาเอาตะกอนขนาดเล็ก ๆ จำพวกทรายละเอียดและโคลนมากับลำน้ำเป็นปริมาณมาก แล้วมาตกตะกอนทับถมกันบริเวณปากแม่น้ำ เมื่อแม่น้ำไหลลงสู่ทะเลหรือทะเลสาบ ความเร็วของน้ำในแม่น้ำจะลดลงและตะกอนที่แม่น้ำพัดมาจะค่อย ๆ สะสมตัวบริเวณดังกล่าว ในบางแห่งขณะน้ำขึ้นน้ำลง กระแสน้ำจะพัดพาเอาทรายและโคลนออกไปสู่ทะเลไกลออกไปจึงไม่มีดินดอนปากแม่น้ำเกิดขึ้น ถ้าในกรณีที่กระแสน้ำขึ้นลงไม่ส่งอิทธิพลรุนแรง แม่น้ำก็จะพัดพาเอาตะกอนมาสะสมอยู่เรื่อย ๆ โดยทรายหยาบจะตกตะกอนลงเป็นพวกแรกและนาน ๆ เข้าก็จะปรากฏเป็นสันทรายบริเวณปากแม่น้ำ ในที่สุดแม่น้ำก็จะแตกแขนงออกเป็นสองสาขาในเวลาต่อมา ในเวลาต่อมาแม่น้ำทั้งสองสาขาก็จะถูกปิดกั้นด้วยสันทราย ทำให้สาขาแม่น้ำแตกออกเป็นสาขาลำน้ำย่อยลงไปอีก ดินดอนโดยทั่วไปมักมีสาขาของลำน้ำที่แตกแขนงจากแม่น้ำใหญ่ โคลนเนื้อละเอียดจะถูกพัดพาไปไกลจากสันทรายและตกตะกอนสะสมตัวกันแผ่คลุมท้องทะเลหรือทะเลสาบในบริเวณที่กว้างขวางเป็นรูปคล้ายพัดหรืองอกตัวลงทะเลตลอดเวลา โดยธรรมดาแล้วแม่น้ำทุกสายที่ไหลลงทะเลหรือทะเลสาบจะมีดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำเกิดขึ้นเสมอ ที่เราเรียกกันว่า "เดลต้า" (delta) เพราะว่าบริเวณดังกล่าวมีรูปร่างคล้ายสามเหลี่ยม ซึ่งถึงแม้ว่าดินดอนจะไม่เป็นรูปสามเหลี่ยมนักภูมิศาสตร์โดยทั่วไปก็เรียกว่า "เดลต้า" แม่น้ำสายใหญ่ ๆ เช่นในเอเชีย เช่น แม่น้ำไทกรีสและยูเฟรตีสในอิรัก ซึ่งเดิมเมืองโบราณชื่ออัวร์ถูกสร้างขึ้นเมื่อประมาณ 6,000 ปีที่แล้วอยู่ติดทะเล แต่ปัจจุบันเมืองดังกล่าวอยู่ลึกเข้าไปในแผ่นดิน 240 กิโลเมตร[ต้องการอ้างอิง] แม่น้ำพรหมบุตรในอินเดียและบังคลาเทศ ดินดอนบริเวณปากแม่น้ำคงคาและแม่น้ำพรหมบุตรแผ่ลงไปในทะเลมีระยะทางยาวกว่า 350 กิโลเมตร[1] ส่วนแม่น้ำอิระวดีในพม่า ตะกอนพัดมาสะสมโดยบริเวณดังกล่าวทำให้แผ่นดินงอกออกไปในทะเลปีละประมาณ 55 เมตร[2] เป็นต้น
ประเภท
[แก้]มีการจำแนกตามตัวควบคุมหลักในการตกสะสมตัวของตะกอน ซึ่งโดยปกติจะเป็นทั้ง แม่น้ำ คลื่นและกระแสน้ำขึ้นลง[3] ปัจจัยในการควบคุมเหล่านี้มีผลต่อรูปร่างของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ
การกระทำของคลื่นที่โดดเด่น
[แก้]มีการกัดเซาะเนื่องจากอิทธิพลของคลื่นเป็นตัวควบคุมรูปร่างของดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ แม้ว่าจะมีการกัดเซาะ แต่เมื่อเทียบปริมาณการสะสมตัวของตะกอนกับการถูกกัดเซาะ ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำก็ยังสามารถสะสมตะกอนออกสู่ทะเลได้ ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำที่มีการกระทำของคลื่นที่โดดเด่น เช่น ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำไนล์ มักมีรูปลักษณะเป็นรูปสามเหลี่ยม
การกระทำของกระแสน้ำขึ้นลงที่โดดเด่น
[แก้]การกัดเซาะมีความสำคัญต่อดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำที่มีความโดดเด่นของกระแสน้ำขึ้นลงด้วยเช่นกัน อย่างเช่น สามเหลี่ยมปากแม่น้ำคงคา ซึ่งพื้นที่ส่วนใหญ่จะอยู่ใต้น้ำและจะมีแนวสันทรายที่เด่นชัด ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำที่เกิดจากการกระทำของกระแสน้ำขึ้นลง มีความแตกต่างจากการกระทำของคลื่นและแม่น้ำ กล่าวคือจะมีการแตกแขนงของแม่น้ำสายหลักไม่มาก ในขณะที่คลื่นหรือแม่น้ำจะมีการแตกสาขาของทางน้ำที่มีตะกอนทรายละเอียดมาปิดทับหรือเป็นทางน้ำที่พัฒนาขึ้นมาใหม่ การแตกสาขาของทางน้ำบนดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำ จะเกิดในช่วงที่บริเวณโดยรอบมีปริมาณน้ำมาก เช่น น้ำท่วม หรือการเกิดพายุ ทำให้เกิดการสะสมของตะกอนทรายละเอียดอย่างช้า ๆ จนกระทั่งมีอัตราการสะสมตะกอนคงที่
อ้างอิง
[แก้]- ↑ "สามเหลี่ยมปากแม่น้ำคงคา", วิกิพีเดีย, 2022-09-20, สืบค้นเมื่อ 2024-10-04
- ↑ "Myanmar death toll soars, devastation "huge" | International | Reuters". web.archive.org. 2008-05-20. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-05-20. สืบค้นเมื่อ 2024-10-04.
{{cite web}}
: CS1 maint: bot: original URL status unknown (ลิงก์) - ↑ http://www.maine.gov/doc/nrimc/mgs/explore/surficial/facts/dec03.htm