ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การบริหารทรัพยากรกายภาพ"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TXiKiBoT (คุย | ส่วนร่วม)
โรบอต เพิ่ม: nl:Facilitair management
JasperBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ {lang-??} ด้วย {langx|??}
 
(ไม่แสดง 23 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 14 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
'''การบริหารทรัพยากรกายภาพ''' ({{langx|en|facility management}}) เป็นสหความรู้ที่ใช้ในการจัดการ[[ที่ว่าง]] [[โครงสร้างพื้นฐาน]] คน และหน่วยงาน โดยมักจะร่วมกับส่วนการบริหารอาคาร อาทิ [[ออฟฟิศ]] [[สนามกีฬา]] [[โรงเรียน]] [[ห้างสรรพสินค้า]] [[โรงพยาบาล]] ครอบคลุมกิจกรรมหลายด้านที่เกิดขึ้นในอาคารและการจัดการผลกระทบของกิจกรรมเหล่านี้ต่อบุคลากรและสภาพแวดล้อมในการทำงาน อาทิ การบำรุงรักษาและปรับปรุงอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม และการจัดหาตัวแทนผู้ดำเนินงานบริการอื่นๆที่ส่งเสริมการปฏิบัติงานหลักขององค์กร เช่น ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบสื่อสารและการจัดเก็บข้อมูล และงานทำความสะอาด เป็นต้น โดยเป็นการบริหารที่ไม่เกี่ยวข้องกับธุรกิจหลัก การบริหารทรัพยากรอาคารเป็นการบูรณาการการทำงานต่างๆในองค์กรเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการต่างๆที่จำเป็นการส่งเสริมศักยภาพของกิจกรรมหลักขององค์กรให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งในด้านการเพิ่มผลผลิต การลดค่าใช้จ่ายของการปฏิบัติงานในระยะยาว และความได้เปรียบทางการตลาดขององค์กรนั้น ๆ
{{รอการตรวจสอบ}}
'''Facilities Management''' หรือ Facility Management ในปัจจุบันยังไม่มีการบัญญัติศัพท์เป็นภาษาไทยอย่างเป็นทางการ Facilities management มีเนื้อหาครอบคลุมการจัดการทุกกิจกรรมในองค์กรที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชา สถาปัตยกรรมและสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงการจัดการผลกระทบของสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อบุคลากรและสถานที่ทำงาน อาทิ การบำรุงรักษาและปรับปรุงอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม และการจัดหาตัวแทนผู้ดำเนินงานบริการอื่นๆที่ส่งเสริมการปฏิบัติงานหลักขององค์กร เช่น ระบบรักษาความปลอดภัย, ระบบสื่อสารและการจัดเก็บข้อมูล และงานทำความสะอาด เป็นต้น


ในปี พ.ศ. 2552 [[สมาคมการบริหารทรัพยากรกายภาพนานาชาติ]] (IFMA) ได้กำหนดหน้าที่ไว้ 11 อย่างในด้านการบริหารทรัพยากรกายภาพ ได้แก่ (1) การสื่อสาร (2) การเตรียมความพร้อมในกรณีฉุกเฉินและ[[การดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง]] (3) [[ภาวะผู้ให้บริการดูแลสิ่งแวดล้อม]]และความยั่งยืน (4) การเงินและธุรกิจ (5) [[ปัจจัยมนุษย์]] (6) ความเป็นผู้นำและกลยุทธ์ (7) การดำเนินการและดูแลรักษา (8) [[การบริหารโครงการ]] (9) คุณภาพ (10) [[อสังหาริมทรัพย์]]และ[[การบริหารสินทรัพย์]] และ (11) เทคโนโลยี<ref>{{Cite web |url=http://www.ifma.org/know-base/fm-knowledge-base/knowledge-base-details/11-core-competencies-of-facility-management |title=11 Core Competencies of Facility Management |access-date=2015-08-09 |archive-date=2015-08-06 |archive-url=https://web.archive.org/web/20150806024023/http://www.ifma.org/know-base/fm-knowledge-base/knowledge-base-details/11-core-competencies-of-facility-management |url-status=dead }}</ref> ปัจจุบันการบริหารทรัพยากรอาคาร ได้พัฒนา มากขึ้น เพื่อครอบคลุม งานต่าง ๆ ของอาคาร โดยสามารถแบ่ง การบริหารออกเป็น สองส่วน หลัก คือ Soft Services และ Hard Services ซึ่งจะได้กล่าวต่อไป นอกจากนี้ ได้มีการพัฒนามาตรฐานระดับนานาชาติ ที่เป็นสากล คือ มาตรฐาน ISO 41001 Facility Management Standard
วัตถุประสงค์หลักของสาขาวิชา Facilities Management คือ เพื่อส่งเสริมศักยภาพของกิจกรรมหลักขององค์กรให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งในด้านการเพิ่มผลผลิต การลดค่าใช้จ่ายของการปฏิบัติงานในระยะยาว และความได้เปรียบทางการตลาดขององค์กรนั้นๆ


== อ้างอิง ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{รายการอ้างอิง}}

== แหล่งข้อมูลอื่นนอ ==
* [http://www.bifm.org.uk/bifm/about/facilities เว็บไซต์ British Institute of Facilities Management (BIFM)]
* [http://www.bifm.org.uk/bifm/about/facilities เว็บไซต์ British Institute of Facilities Management (BIFM)]
*ข้อมูลเพิ่มเติม จาก MASCI https://innoversity.masci.or.th/?p=21941 {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20230922120034/https://innoversity.masci.or.th/?p=21941 |date=2023-09-22 }}


[[หมวดหมู่:อสังหาริมทรัพย์]]
{{unreferenced}}
[[หมวดหมู่:สถาปัตยกรรม]]
[[หมวดหมู่:สถาปัตยกรรม]]
[[หมวดหมู่:วิศวกรรม]]
[[หมวดหมู่:บริหาร]]
[[หมวดหมู่:ทรัพยากรอาคาร]]
{{โครงความรู้}}
{{โครงความรู้}}

[[da:Facility management]]
[[de:Facility Management]]
[[en:Facility management]]
[[es:Facility management]]
[[fr:Services généraux]]
[[it:Facility management]]
[[ja:ファシリティマネジメント]]
[[nl:Facilitair management]]
[[pt:Gestão de facilidades]]
[[sv:Facility management]]
[[vi:Facility Management]]
[[zh:设施管理]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 21:48, 8 พฤศจิกายน 2567

การบริหารทรัพยากรกายภาพ (อังกฤษ: facility management) เป็นสหความรู้ที่ใช้ในการจัดการที่ว่าง โครงสร้างพื้นฐาน คน และหน่วยงาน โดยมักจะร่วมกับส่วนการบริหารอาคาร อาทิ ออฟฟิศ สนามกีฬา โรงเรียน ห้างสรรพสินค้า โรงพยาบาล ครอบคลุมกิจกรรมหลายด้านที่เกิดขึ้นในอาคารและการจัดการผลกระทบของกิจกรรมเหล่านี้ต่อบุคลากรและสภาพแวดล้อมในการทำงาน อาทิ การบำรุงรักษาและปรับปรุงอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อม และการจัดหาตัวแทนผู้ดำเนินงานบริการอื่นๆที่ส่งเสริมการปฏิบัติงานหลักขององค์กร เช่น ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบสื่อสารและการจัดเก็บข้อมูล และงานทำความสะอาด เป็นต้น โดยเป็นการบริหารที่ไม่เกี่ยวข้องกับธุรกิจหลัก การบริหารทรัพยากรอาคารเป็นการบูรณาการการทำงานต่างๆในองค์กรเพื่อให้ได้มาซึ่งบริการต่างๆที่จำเป็นการส่งเสริมศักยภาพของกิจกรรมหลักขององค์กรให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ทั้งในด้านการเพิ่มผลผลิต การลดค่าใช้จ่ายของการปฏิบัติงานในระยะยาว และความได้เปรียบทางการตลาดขององค์กรนั้น ๆ

ในปี พ.ศ. 2552 สมาคมการบริหารทรัพยากรกายภาพนานาชาติ (IFMA) ได้กำหนดหน้าที่ไว้ 11 อย่างในด้านการบริหารทรัพยากรกายภาพ ได้แก่ (1) การสื่อสาร (2) การเตรียมความพร้อมในกรณีฉุกเฉินและการดำเนินธุรกิจอย่างต่อเนื่อง (3) ภาวะผู้ให้บริการดูแลสิ่งแวดล้อมและความยั่งยืน (4) การเงินและธุรกิจ (5) ปัจจัยมนุษย์ (6) ความเป็นผู้นำและกลยุทธ์ (7) การดำเนินการและดูแลรักษา (8) การบริหารโครงการ (9) คุณภาพ (10) อสังหาริมทรัพย์และการบริหารสินทรัพย์ และ (11) เทคโนโลยี[1] ปัจจุบันการบริหารทรัพยากรอาคาร ได้พัฒนา มากขึ้น เพื่อครอบคลุม งานต่าง ๆ ของอาคาร โดยสามารถแบ่ง การบริหารออกเป็น สองส่วน หลัก คือ Soft Services และ Hard Services ซึ่งจะได้กล่าวต่อไป นอกจากนี้ ได้มีการพัฒนามาตรฐานระดับนานาชาติ ที่เป็นสากล คือ มาตรฐาน ISO 41001 Facility Management Standard

อ้างอิง

[แก้]
  1. "11 Core Competencies of Facility Management". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2015-08-06. สืบค้นเมื่อ 2015-08-09.

แหล่งข้อมูลอื่นนอ

[แก้]