ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ธนาคารเอเชีย"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
ย้อนการแก้ไขที่ 11582997 สร้างโดย 49.237.12.184 (พูดคุย) ป้ายระบุ: ทำกลับ แก้ไขด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยเว็บอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขขั้นสูงด้วยอุปกรณ์เคลื่อนที่ |
||
(ไม่แสดง 14 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 9 คน) | |||
บรรทัด 14: | บรรทัด 14: | ||
| homepage = |
| homepage = |
||
}} |
}} |
||
'''ธนาคารเอเชีย |
'''ธนาคารเอเชีย (Bank of Asia) หรือ BoA''' เป็นธนาคารในประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อปี [[พ.ศ. 2482]] มีสถานะเป็น[[รัฐวิสาหกิจไทย]] ใช้ชื่อว่า ''ธนาคารแห่งเอเชียเพื่ออุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม'' โดย[[ปรีดี พนมยงค์|ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์]] อดีต[[นายกรัฐมนตรี]] และ[[ผู้ประศาสน์การ]][[มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง]] ต่อมาภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น "ธนาคารเอเชีย" (BoA) จดทะเบียนเข้าตลาดหลักทรัพย์ในปี [[พ.ศ. 2521]] และกลายเป็นบริษัทมหาชน จำกัด ในวันที่ 2 ตุลาคม [[พ.ศ. 2535]] |
||
ธนาคารเอเชียมีผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่หลากหลาย อีกทั้งยังมีบริษัทในเครือที่ให้ บริการด้านประกันภัย, การจัดการกองทุน, การจัดจำหน่ายตราสาร หนี้และตราสารทุนและบริการเช่าซื้อ สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของธนาคารอยู่ที่ถนนสาทรใต้ ในกรุงเทพมหานคร ณ เดือนกันยายน [[พ.ศ. 2546]] ธนาคารเอเชียมีสาขา 124 แห่ง |
ธนาคารเอเชียมีผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่หลากหลาย อีกทั้งยังมีบริษัทในเครือที่ให้ บริการด้านประกันภัย, การจัดการกองทุน, การจัดจำหน่ายตราสาร หนี้และตราสารทุนและบริการเช่าซื้อ สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของธนาคารอยู่ที่ถนนสาทรใต้ ในกรุงเทพมหานคร ณ เดือนกันยายน [[พ.ศ. 2546]] ธนาคารเอเชียมีสาขา 124 แห่ง |
||
[[พ.ศ. 2541]] ธนาคารเอบีเอ็น แอมโร แห่ง[[ประเทศเนเธอร์แลนด์]] ได้เข้ามาเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของธนาคารเอเชีย ในปี พ.ศ. 2545 [[ธนาคารเอบีเอ็น แอมโร]]ได้รับการจัดอันดับเป็นที่ 8 ในยุโรป และที่ 17 ในโลก ในด้านความมั่นคงของเงินกองทุนขั้นที่หนึ่ง โดย มีกว่า 3,000 สาขาในกว่า 66 ประเทศ <ref>[http://www.positioningmag.com/brand_details.aspx?id=20164 ธนาคารเอเชีย]{{ |
[[พ.ศ. 2541]] ธนาคารเอบีเอ็น แอมโร แห่ง[[ประเทศเนเธอร์แลนด์]] ได้เข้ามาเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของธนาคารเอเชีย ในปี พ.ศ. 2545 [[ธนาคารเอบีเอ็น แอมโร]]ได้รับการจัดอันดับเป็นที่ 8 ในยุโรป และที่ 17 ในโลก ในด้านความมั่นคงของเงินกองทุนขั้นที่หนึ่ง โดย มีกว่า 3,000 สาขาในกว่า 66 ประเทศ <ref>[http://www.positioningmag.com/brand_details.aspx?id=20164 ธนาคารเอเชีย] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070927220946/http://www.positioningmag.com/brand_details.aspx?id=20164 |date=2007-09-27 }} positioningmag.com</ref> |
||
[[25 เมษายน]] [[พ.ศ. 2547]] ธนาคารเอบีเอ็ม แอมโร ได้ลงนามขายหุ้น 80.77% ซึ่งถืออยู่ในธนาคารเอเชีย ให้กับ ธนาคารยูโอบี ผู้ถือหุ้นหลักใน [[ธนาคารยูโอบีรัตนสิน]] เพื่อควบรวมกิจการ ธนาคารเอเชีย เข้ากับ ธนาคารยูโอบีรัตนสิน โดยใช้ธนาคารเอเชียเป็นแกนหลัก และเปลี่ยนชื่อเป็น |
[[25 เมษายน]] [[พ.ศ. 2547]] ธนาคารเอบีเอ็ม แอมโร ได้ลงนามขายหุ้น 80.77% ซึ่งถืออยู่ในธนาคารเอเชีย ให้กับ ธนาคารยูโอบี ผู้ถือหุ้นหลักใน [[ธนาคารยูโอบีรัตนสิน]] เพื่อควบรวมกิจการ ธนาคารเอเชีย เข้ากับ ธนาคารยูโอบีรัตนสิน โดยใช้ธนาคารเอเชียเป็นแกนหลัก และเปลี่ยนชื่อเป็น "ธนาคารยูโอบี" <ref>[http://www.kimeng.co.th/research_info/download/040426/040426_boa_t.pdf ธนาคารเอเชีย]{{ลิงก์เสีย|date=กันยายน 2021 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }} บล. กิมเอ็ง (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)</ref> ในนามบริษัท “[[ธนาคารยูไนเต็ด โอเวอร์ซีส์ (ไทย)]] จำกัด (มหาชน)”<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2549/00187059.PDF ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ที่ ๒๒๘๕/๒๕๔๘ เรื่อง จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงรายการจดทะเบียนธนาคารเอเชีย จำกัด (มหาชน)]</ref> |
||
ด โอเวอร์ซีส์ (ไทย) จํากัด (มหาชน)”<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2549/00187059.PDF ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ที่ ๒๒๘๕/๒๕๔๘ เรื่อง จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงรายการจดทะเบียนธนาคารเอเชีย จำกัด (มหาชน)]</ref> |
|||
== อ้างอิง == |
== อ้างอิง == |
||
บรรทัด 32: | บรรทัด 31: | ||
[[หมวดหมู่:ธนาคารไทยในอดีต]] |
[[หมวดหมู่:ธนาคารไทยในอดีต]] |
||
[[หมวดหมู่:อดีตบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] |
[[หมวดหมู่:อดีตบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย]] |
||
[[หมวดหมู่:บริษัทที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2482]] |
[[:หมวดหมู่:บริษัทสยามที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2482]] |
||
[[หมวดหมู่:บริษัทไทยที่ปิดกิจการในปี พ.ศ. 2547]] |
|||
[[หมวดหมู่:สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2547]] |
[[หมวดหมู่:สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2547]] |
||
[[หมวดหมู่:รัฐวิสาหกิจไทยในอดีต]] |
[[หมวดหมู่:รัฐวิสาหกิจไทยในอดีต]] |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 14:30, 21 มิถุนายน 2567
ประเภท | บริษัทมหาชน (พ.ศ. 2535) |
---|---|
อุตสาหกรรม | การเงิน |
ก่อตั้ง | พ.ศ. 2482 |
เลิกกิจการ | พ.ศ. 2547 |
สาเหตุ | รวมกิจการเข้ากับธนาคารยูโอบีรัตนสิน จนกลายเป็นธนาคารยูโอบี |
บุคลากรหลัก | ปรีดี พนมยงค์ |
ธนาคารเอเชีย (Bank of Asia) หรือ BoA เป็นธนาคารในประเทศไทย ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2482 มีสถานะเป็นรัฐวิสาหกิจไทย ใช้ชื่อว่า ธนาคารแห่งเอเชียเพื่ออุตสาหกรรมและพาณิชยกรรม โดยศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ อดีตนายกรัฐมนตรี และผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ต่อมาภายหลังเปลี่ยนชื่อเป็น "ธนาคารเอเชีย" (BoA) จดทะเบียนเข้าตลาดหลักทรัพย์ในปี พ.ศ. 2521 และกลายเป็นบริษัทมหาชน จำกัด ในวันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2535
ธนาคารเอเชียมีผลิตภัณฑ์ทางการเงินที่หลากหลาย อีกทั้งยังมีบริษัทในเครือที่ให้ บริการด้านประกันภัย, การจัดการกองทุน, การจัดจำหน่ายตราสาร หนี้และตราสารทุนและบริการเช่าซื้อ สถานที่ตั้งสำนักงานใหญ่ของธนาคารอยู่ที่ถนนสาทรใต้ ในกรุงเทพมหานคร ณ เดือนกันยายน พ.ศ. 2546 ธนาคารเอเชียมีสาขา 124 แห่ง
พ.ศ. 2541 ธนาคารเอบีเอ็น แอมโร แห่งประเทศเนเธอร์แลนด์ ได้เข้ามาเป็นผู้ถือหุ้นรายใหญ่ ของธนาคารเอเชีย ในปี พ.ศ. 2545 ธนาคารเอบีเอ็น แอมโรได้รับการจัดอันดับเป็นที่ 8 ในยุโรป และที่ 17 ในโลก ในด้านความมั่นคงของเงินกองทุนขั้นที่หนึ่ง โดย มีกว่า 3,000 สาขาในกว่า 66 ประเทศ [1]
25 เมษายน พ.ศ. 2547 ธนาคารเอบีเอ็ม แอมโร ได้ลงนามขายหุ้น 80.77% ซึ่งถืออยู่ในธนาคารเอเชีย ให้กับ ธนาคารยูโอบี ผู้ถือหุ้นหลักใน ธนาคารยูโอบีรัตนสิน เพื่อควบรวมกิจการ ธนาคารเอเชีย เข้ากับ ธนาคารยูโอบีรัตนสิน โดยใช้ธนาคารเอเชียเป็นแกนหลัก และเปลี่ยนชื่อเป็น "ธนาคารยูโอบี" [2] ในนามบริษัท “ธนาคารยูไนเต็ด โอเวอร์ซีส์ (ไทย) จำกัด (มหาชน)”[3]
อ้างอิง
- ↑ ธนาคารเอเชีย เก็บถาวร 2007-09-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน positioningmag.com
- ↑ ธนาคารเอเชีย[ลิงก์เสีย] บล. กิมเอ็ง (ประเทศไทย) จำกัด (มหาชน)
- ↑ ประกาศกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ที่ ๒๒๘๕/๒๕๔๘ เรื่อง จดทะเบียนเปลี่ยนแปลงรายการจดทะเบียนธนาคารเอเชีย จำกัด (มหาชน)