ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อิมามะฮ์"
ไม่มีความย่อการแก้ไข |
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.9.5 |
||
(ไม่แสดง 31 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 7 คน) | |||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
'''อิมามะฮ์''' ({{lang-ar|إمامة}}) หรือ ตำแหน่งการเป็นผู้นำ ตัวแทนท่านศาสดา (ศ) ถือเป็นหนึ่งในหลักศรัทธาของอิสลามนิกายชีอะฮ์ และเนื่องจากความสำคัญยิ่งยวดของหลักศรัทธาข้อนี้ พวกเขาจึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า กลุ่มอิมามียะฮ์<ref>ซัยยิดมุรตะฏอ. อำนาจการปกครองของอิมามอลีในโองการและฮะดีษ. สำนักพิมพ์มุนีร, พิมพ์ครั้งที่ 7.</ref> |
|||
'''อิมามัต-ตำแหน่งการเป็นผู้นำ <br> |
|||
'''ถือเป็นหนึ่งในหลักศรัทธาของอิสาลามนิกายชีอะฮ์ และเนื่องจากความสำคัยอันยิ่งยวดของหลักศรัทธาข้อนี้พวกเขาจึงเรียกอีกกชื่อหนึ่งว่า กลุ่ม อิมามียะฮ์. |
|||
<ref>ซัยยิดมุรตะฏอ ، อำนาจการปกครองของอิมามอลีในโองการและฮะดีษ، สำนักพิมพ์ มุนีร ، พิมพ์ครั้งที่7</ref>คำว่า อิมามัตตามรากศัพท์ภาาอาหรับ หมายถึง ผู้นำ และตามจริงแล้วทุกประชาชาติและกลุ่มชนไม่สามารถอยู่ได้โดยปราสจากผู้นำ. |
|||
คำว่า อิมามะฮ์ ตามรากศัพท์ภาษาอาหรับ หมายถึง ผู้นำ และตามจริงแล้วทุกประชาชาติและกลุ่มชนไม่สามารถอยู่ได้โดยปราศจากผู้นำ |
|||
หลักศรัทธาชองนิกายชีอะฮ์ : |
|||
เตาฮีด,นุบูวัต,มะอาด,อัดล์และ อิมามัต |
|||
หลักศรัทธาชองนิกายชีอะฮ์ : เตาฮีด, นุบูวัต, มะอาด, อัดล์ และอิมามะฮ์ |
|||
บรรดาชีอะฮ์จะอ้างอิงความเชื่อทั้งหมดของพวกเขาจากโองการในพระมหา[[คัมภีร์]][[อัลกุรอ่าน]]และในเรื่องของอิมามัตก้เช่นเดียวกัน. |
|||
บรรดาชีอะฮ์จะอ้างอิงความเชื่อทั้งหมดของพวกเขาจากโองการในพระมหา[[คัมภีร์]][[อัลกุรอาน]]และในเรื่องของอิมามะฮ์ก็เช่นเดียวกัน |
|||
== อิมามัต-ตำแหน่งผู้นำในคัมภีร์[[อัลกุรอ่าน]] == |
|||
* ในโองการที่24 วเราะห์ อัซซัจาดะฮ์ ได้กล่าวไว้ว่า: |
|||
== อิมามะฮ์-ตำแหน่งผู้นำในคัมภีร์[[อัลกุรอาน]] == |
|||
وَجَعَلْنَا مِنْهُمْ أَئِمَّةً يَهْدُونَ بِأَمْرِنَا لَمَّا صَبَرُوا وَكَانُوا بِآيَاتِنَا يُوقِنُونَ |
|||
* ในโองการที่24 ซูเราะห์ อัสสัจญ์ดะฮ์ ได้กล่าวไว้ว่า: |
|||
อัส-สัจญ์ดะฮฺ - 24 |
|||
وَجَعَلْنَا مِنْهُمْ أَئِمَّةً يَهْدُونَ بِأَمْرِنَا لَمَّا صَبَرُوا وَكَانُوا بِآيَاتِنَا يُوقِنُونَ |
|||
อัส-สัจญ์ดะฮฺ - 24 |
|||
และเราได้จัดให้มีหัวหน้าจากพวกเขา เพื่อจะได้ชี้แนะแนวทางที่ถูกต้องตามคำบัญชาของเรา ในเมื่อพวกเขามีความอดทนและพวกเขาเชื่อมั่นต่ออายาตทั้งหลายของเรา |
และเราได้จัดให้มีหัวหน้าจากพวกเขา เพื่อจะได้ชี้แนะแนวทางที่ถูกต้องตามคำบัญชาของเรา ในเมื่อพวกเขามีความอดทนและพวกเขาเชื่อมั่นต่ออายาตทั้งหลายของเรา |
||
<ref>มุฮ์ซิน , กิรออัตตี ตัฟซีร นูร , เล่ม7, หน้า318.</ref> |
|||
<ref>محسن قرائتی، تفسیر نور، مركز فرهنگى درسهايى از قرآن، ۱۳۸۳ ش، چاپ يازدهم جلد ۷ُ صفحه ۳۱۸.</ref> |
|||
* ในซูเราห์ |
* ในซูเราห์ อัลบะเกาะเราะฮ์ โองการที่124ก็ได้กล่าวไว้เช่านเดียวกันว่า: |
||
وَإِذِ ابْتَلَىٰ إِبْرَاهِيمَ رَبُّهُ بِكَلِمَاتٍ فَأَتَمَّهُنَّ قَالَ إِنِّي جَاعِلُكَ لِلنَّاسِ إِمَامًا قَالَ وَمِن ذُرِّيَّتِي قَالَ لَا يَنَالُ عَهْدِي الظَّالِمِينَ |
وَإِذِ ابْتَلَىٰ إِبْرَاهِيمَ رَبُّهُ بِكَلِمَاتٍ فَأَتَمَّهُنَّ قَالَ إِنِّي جَاعِلُكَ لِلنَّاسِ إِمَامًا قَالَ وَمِن ذُرِّيَّتِي قَالَ لَا يَنَالُ عَهْدِي الظَّالِمِينَ |
||
อัลบะเกาะเราะฮ์ - 124 |
|||
อัล-บะเกาะเราะฮ - 124 |
|||
และจงรำลึกถึง ขณะที่พระเจ้าของอิบรอฮีมได้ทดสอบเขา ด้วยพระบัญชาบางประการ แล้วเขาก็ได้สนองตามพระบัญชานั้นโดยครบถ้วน พระองค์ตรัสว่า แท้จริงข้าจะให้เจ้าเป็นผู้นำมนุษย์ชาติ เขากล่าวว่า และจากลูกหลานของข้าพระองค์ด้วย พระองค์ตรัสว่า สัญญาของข้านั้นจะไม่ได้แก่บรรดาผู้อธรรม. |
และจงรำลึกถึง ขณะที่พระเจ้าของอิบรอฮีมได้ทดสอบเขา ด้วยพระบัญชาบางประการ แล้วเขาก็ได้สนองตามพระบัญชานั้นโดยครบถ้วน พระองค์ตรัสว่า แท้จริงข้าจะให้เจ้าเป็นผู้นำมนุษย์ชาติ เขากล่าวว่า และจากลูกหลานของข้าพระองค์ด้วย พระองค์ตรัสว่า สัญญาของข้านั้นจะไม่ได้แก่บรรดาผู้อธรรม. |
||
== |
== อิมามะฮ์ (ตำแหน่งผู้นำ) ใน[[ฮะดีษ]] == |
||
* ในตำราฮะดีษของสายอะฮลิซซุนนะฮ์ |
* ในตำราฮะดีษของสายอะฮลิซซุนนะฮ์ ศอเฮียะฮ์บุคคอรีและศอเฮียะฮ์มุสลิม, มุสนัด ตอยาลีซี และ อะฮ์หมัด อิบนิ ฮันบัล, ซุนันติรมีซี และ อิบนิ มาญะฮ์ และตำราอ้างอิงฮะดีษอื่น ๆ ระบุไว้ว่าท่านศาสดา (ศ) ได้กล่าวกับอิมามอาลีว่า: เจ้าสำหรับข้าเปรียบเสมือนฮารูนสำหรับอิบรอฮีม แตกต่างกันตรงที่หลังจากฉันจะไม่มีนบีอีกแล้วเท่านั้น <ref>ศอเฮี้ยะฮ์บุคอรี , หัวข้อ ความประเสริฐของอลี อิบนิ อบี ตอลิบ , เล่ม2/200</ref> |
||
== จำนวนของอิมาม == |
== จำนวนของอิมาม == |
||
ชีอะฮ์อ้างอิงรายงานจากจาบิร อันศอรี และจากรายงานของท่านอื่น ๆ มีความเชื่อว่าอิมามทั้งหมดมีสิบสองท่านซึ่งถูกเลือกจากพระองค์[[อัลลอฮ์]] (ซ.บ.) และได้รับการแต่งตั้งตั้งแต่ในยุคของ[[ศาสดา]][[มุฮัมมัด|มุฮัมมัด]] (ศ) นักวิชาการบางท่านอ้างอิงประเด็นการเป็นอิมามจาะฮะดีษษะกอลัยน์ ตัวอย่างเช่น ท่านมุสลิมบันทึกไว้ในตำราฮะดีษของเขาว่ารายงานจากท่านญาบิรบิน ษะมะเราะห์ ที่กล่าวว่าฉันได้ยินมาจากท่านศาสดา (ศ) ว่าท่านกล่าวว่า : |
|||
ศาสนานี้จะดำเนินสืบต่อไปจนกว่าจนกว่าอิมามทั้งสิบสองท่านจะขึ้นมาดำรงค์ตำแหน่งคอลีฟะฮ์, ซึ่งคอลีฟะฮ์เหล่านี้ล้วนมาจากเผ่ากุเรชทั้งสิ้น. |
|||
== รายชื่อิมามทั้งสิบสองท่าน == |
|||
<blockquote class="">ชีอะฮ์อ้างอิงรายงานจาก จาบิร อันศอรี และจากรายงานของท่านอื่นๆมีความเชื่อว่าอิมามทั้งหมดมีสิบสิงท่านซึ่งถูกเลือกจากพระองค์[[อัลลอฮ์]](ซ.บ.)และแต่งตั้งตั้งแต่ในยุคของท่าน[[ศาสดา]][[มุฮัมมัด|มุฮัมหมัด]](ศ)นักวิชาการบางท่านอ้างอิงประเด็นการเป็นอิมามจาะฮะดีษษะกอลัยน์ ตัวอย่างเช่น ท่านมุสลิมบันทึกไว้ในตำราฮะดีษของเขาว่ารายงานจากท่านจาบิรบิน ษะมะเราะห์ ที่กล่าวว่าฉันได้ยินมาจากท่านศาสดา(ศ)ว่าท่านกล่าวว่า:</blockquote>ศาสนานี้จะดำเนินสืบต่อไปจนกว่าจนกว่าอิมามทั้งสิบสองท่านจะขึ้นมาดำรงค์ตำแหน่งคอลีฟะฮ์,ซึ่งคอลีฟะฮ์เหล่านี้ล้วนมาจากเผ่ากุเรชทั้งสิ้น.<ref>มุสลิม,ศอเฮียะฮ์มุสลิม,เล่ม3,1453,ฮะดีษบทที่1821 </ref> |
|||
ในริวายัตอีกบทหนึ่ง |
ในริวายัตอีกบทหนึ่ง ศาสดา (ศ) ได้กล่าวว่า : การงานของประชาชาติในยุคนี้จะราบรื่นเสมอจนกว่าคอลีฟะฮ์ทั้งสิบสองท่านนี้จะจากไป |
||
== รายชื่ออิมามทั้งสิบสองท่าน == |
|||
<blockquote class="">ชีอะฮ์อ้างอิงรายงานจาก จาบิร อันศอรี และจากรายงานของท่านอื่น ๆ มีความเชื่อว่าอิมามทั้งหมดมีสิบสิงท่านซึ่งถูกเลือกจากพระองค์[[อัลลอฮ์]] (ซ.บ.) และแต่งตั้งตั้งแต่ในยุคของท่าน[[ศาสดา]][[มุฮัมมัด|มุฮัมมัด]] (ศ) นักวิชาการบางท่านอ้างอิงประเด็นการเป็นอิมามจาะฮะดีษษะกอลัยน์ ตัวอย่างเช่น ท่านมุสลิมบันทึกไว้ในตำราฮะดีษของเขาว่ารายงานจากท่านจาบิรบิน ษะมะเราะห์ ที่กล่าวว่าฉันได้ยินมาจากท่านศาสดา (ศ) ว่าท่านกล่าวว่า:</blockquote>ศาสนานี้จะดำเนินสืบต่อไปจนกว่าจนกว่าอิมามทั้งสิบสองท่านจะขึ้นมาดำรงค์ตำแหน่งคอลีฟะฮ์, ซึ่งคอลีฟะฮ์เหล่านี้ล้วนมาจากเผ่ากุเรชทั้งสิ้น.<ref>มุสลิม, ศอเฮียะฮ์มุสลิม, เล่ม3, 1453, ฮะดีษบทที่1821 </ref> |
|||
ในริวายัตอีกบทหนึ่งทานศาสดา (ศ) ได้กล่าวว่า:การงาานของปราชาชาติในยุคนี้จะราบรื่นเสมอจนกว่าคอลีฟะฮ์ทั้งสิบสองท่านนี้จะจากไป<ref>มุนตะคอบ กันซุลอุมมาล, เล่ม5, 321</ref> |
|||
รายชื่อมีดังต่อไปนี้: |
รายชื่อมีดังต่อไปนี้: |
||
อิมามญุวัยนีรายงานจากอับดุลลอฮ์ อิบนิอับบาส ว่าทานศาสดา (ศ) กล่าวว่า: |
|||
ฉันเป็นหัวหน้าของบรรดาอัมบิยา(ศาสดา)ทั้งหลายและอลี อิบนิ อบีตอลิบเป็นหัวหน้าของเอาศิยา(ตัวแทนศาสดา)ทั้งหลายและเอาศิยาเหล่านี้มีทั้งหมดสิบสองท่านคนแรกของพวกเขาคืออลี อิบนิ อบี |
ฉันเป็นหัวหน้าของบรรดาอัมบิยา (ศาสดา) ทั้งหลายและอลี อิบนิ อบีตอลิบเป็นหัวหน้าของเอาศิยา (ตัวแทนศาสดา) ทั้งหลายและเอาศิยาเหล่านี้มีทั้งหมดสิบสองท่านคนแรกของพวกเขาคืออลี อิบนิ อบี ฎอลิบ และคนสุดท้ายของพวกเขาคือ มะฮ์ดี. |
||
อิมามญุวัยนยังรายงานต่อจากสายรายงานเดิมอีกว่าฉันได้ยินจากศาสดา (ศ) ที่ท่านกล่าว่า: |
|||
ฉัน อลี และ ฮะซัน และบุตรอีกเก้าคนจากเชื้อสายของฮุเซน คือผู้บริสุทธิ์ และไร้มลทิน. |
ฉัน อลี และ ฮะซัน และบุตรอีกเก้าคนจากเชื้อสายของฮุเซน คือผู้บริสุทธิ์ และไร้มลทิน. |
||
1- |
* 1-อาลี อิบน์ อะบี ฏอลิบ บุตรของอะบูฏอลิบ ผู้เป็นลูกพี่ลูกน้องของนบีมุฮัมมัด นบีได้ชุบเลี้ยงมาตั้งแต่ยังเยาว์ เป็นผู้แรกที่ศรัทธาต่อศาสนาอิสลาม ภายหลังสมรสกับท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ ธิดานบีมุฮัมมัด |
||
* 2-ฮะซัน บุตรของอะลีย์ และฟาฏิมะหฺ |
|||
* 3- ฮุเซน บุตรของอะลีย์ และฟาฏิมะหฺ น้องชายของฮะซัน |
|||
* 4-อาลี ซัยนุลอาบิดีน บุตรอิมามที่3 |
|||
* 5- มุฮัมมัด อัลบากิร บุตรอิมามที่ 4 |
|||
* 6-ญะอฺฟัร อัศศอดิก บุตรอิมามที่ 5 |
|||
* 7-มูซา อัลกาซิม บุตรอิมามที่ 6 |
|||
* 8-อาลี อัรริฎอ บุตรอิมามที่ 7 |
|||
* 9- อัตตะกีย์ บุตรอิมามที่ 8 |
|||
* 10-อัลฮาดี บุตรอิมามที่ 9 |
|||
* 11- ฮะซัน อัลอัสกะรีย์ บุตรอิมามที่ 10 |
|||
* 12-มุฮัมมัด อัลมะฮ์ดี บุตรอิมามที่ 11 |
|||
=== คุณสมบัติ |
=== คุณสมบัติต่าง ๆ === |
||
# ความบริสุทธิ์ : ปราศจากความผิดบาปของอิมามทั้งสิบสองท่านรวมถึงท่านศาสดาและท่านหญิงฟาติมะฮ์ทั้งหมดเป็นสิบสี่ท่าน, จากนัยยะและการอธิบายของโองการตัฎฮีรหมายถึงโองการที่33 ซูเราะห์ อะห์ซฺาบ บ่งชี้ว่าพวกท่านเหล่านี้ปราศจากความผิดบาปทุกประเภทอย่างไม่มีเงื่อนไขใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นบาปเล็กหรือบาปใหญ่ก็ตามเพราะการเป็นผู้นำและแบบฉบับนั้นจะต้องเป็นผู้ที่ปราศจากข้อผิดพลาดทุกประการจึงจะเป็นข้อพิสูจน์สำหรับผู้อื่นได้. |
|||
# ความยุติธรรม : |
|||
# ความรู้ : |
|||
# การเป็นข้อพิสูจน์ : |
|||
# การเป็นผู้นำ : |
|||
=== หน้าที่ความรับผิดชอบ === |
=== หน้าที่ความรับผิดชอบ === |
||
1- '''การเป็นศูนย์กลางทางด้านศาสนา''' |
|||
* 1- '''การเป็นศูนย์กลางทางด้านศาสนา'''ในมุมมองของชีอะฮ์ หลังจากการบัญญัติทางศาสนาเสร็จสิ้นแล้วโดยท่านศาสดา(ศ)การอธิบายความและการเติมคำให้สมบูรณ์ของ ค Canonization [[ศาสนา|ของศาสนา]] นโดยผู้พยากรณ์ล่ะก็ตีความแบบนั้นของมันและส่งการตอบกลับไปยังใหม่เรื่องมาที่ต้องการพิเศษคุณสมบัติต่างๆซึ่งรวมสวิทยาศาสตร์ต้องศาสนาและ ค infallibility การทำบาปหรอก วันตั้งอยู่เหนือลักษณะเฉพาะ [[อิมาม (ชีอะฮ์)|ที่ imams]] มีคุณสมบัตินี้นะ พวกเขาจากพระเจ้าอะไรของศาสนานี้สำหรับคนของคำอธิบายและคนมีคำถามจะถามตอนที่พวกเขาจับ(Surah Nisaเป็นต้น ท่องคาถาไล่ปิศาจ ۸۳ น) นี่อำนาจกับอำนาจปล่อยให้สายตาของ Shia อยู่แล้วที่คล้ายกันในรูปลักษณ์และโปรแกรมเบื้องหลังมันต่างกัน Sunnis ไม่มีสถานที่แบบนั้นในศาสนาไม่เชื่อว่าคนที่อาจจะซ้อมจากพื้นฐานของความเข้าใจในบการจัดการธุรกิจของศาสนาโบราณเอ่ออาการป่วยของแม่ลูก |
|||
* ۲- '''ที่เป็นผู้นำของสังคม(แสดงตัวอย่างคือ)''':นี้ระหว่างสงครามแย่งชิงยุทธศาส shias และ Sunnis เหมือนกัน ในแง่ที่ว่าทั้งสองคนที่ขาดไม่ของการดำรงอยู่ของสถานที่แบบนั้นอยู่ในมุสลิมชุมชนเห็นด้วย ประเพณีของมันเรียกว่า"Caliph"โทรมา พวกเขาเป็นเพื่อนคนของ Caliph trait และที่พิเศษที่มีคุณสมบัติของคนไม่ใช่ทางเลือกของเขา"สภา","คนของทางออกและสัญญา"และ"administrate"และบางคนต้อง"เอาชนะ"เหมือน ทั่วประวัติศาสตร์หลายชื่อดาบที่สำคัญแสดงสิทธิที่จะยึดอำนาจรัฐบาล หลายของ caliphs ฆ่าและกี่คำสั่ง แต่สายตาของ Shia แต่ควรแล้ว ไม่นะ ผู้บริสุทธิ์และหนึ่ง ขึ้นมาจากศาสนาของผู้พิพากษาและไม่ต้องสงสัยที่ admissibility ไม่ได้และผู้คนจำเป็นต้องเชื่อฟังเขา(Surah เป็-Nisa ท่องคาถาไล่ปิศาจ ۵۹)สงครามแย่งชิงยุทธศาสของ wilayat อัล-faqih ความคล้ายคลึงกันของรูปลักษณ์และความแตกต่างของตนภายใน. Shiites เชื่อว่าคนที่แต่คือพระเจ้าได้รับเลือกโดยผู้พยากรณ์หรือ Imam ก่อนหน้านี้จะเป็นคนแนะนำตัว ที่ Caliphate ที่ถูกต้องของเขาและคนอื่นนั่งบัลลังก์ของดีนะที่ไม่ทำรูปแกะสลัก usurping น Cite พวกเขาท่องคาถาไล่ปิศาจ"انما รรทัดของและของสาปของ یقیمون ของเขา یؤتون الزکوةوهم สรุป"ว(ยกเว้นมันไม่ใช่เรื่องที่ทำตัว شمافقط อัลเลาะห์และเขาส่งเอกสารแล้วผู้ที่เชื่อและเป็นก้มหัวรสวดมนต์องจ่ายที่น่าสงสาร-อัตราการ)(คำภีร์พระธรรมวิวรณ์ ท่องคาถาไล่ปิศาจ ۵۵)Shia Islam และนี่ลงท่อต้อง [[อะลี อิบน์ อะบี ฏอลิบ|อลิสั]] นรู้. นั่นมันอยู่ใน ruku ของภาวนาจะจบอดัมเป็น shoestring งบประมาณสำหรับเรื่องนี้ ที่เพิ่มมานอกเหนือจากนี่ลงท่อนเล่นการเมือง socio-ทางเศรษฐกิจแสดงตัวอย่างก็สำหรับกำหนบนเตียงและระหว่างการปรับแก้ขอบการจัดการธุรกิจของชาวมุสลิงและจับกุมพวกเขาพร้อมกับบูชาของพระองค์รวมตัวกัน |
|||
* ۳- '''ขอ kufr''':มันคือความรับผิดชอบที่จะคอนเซ็ปต์ของ esoteric แสดงตัวอย่าเกี่ยวข้องกันและสำคัญอย่างเช่น แก้ต่าง เพื่อรวมถึง (ที่นิยามของอลิ bin ABI Talib) |
|||
ในมุมมองของชีอะฮ์ หลังจากการบัญญัติทางศาสนาเสร็จสิ้นแล้วโดยท่านศาสดา (ศ) อิมามมะอฺศูม (อ) จะเป็นผู้ที่ถ่ายทอดและอรรฐาธิบายวิชาการทางศาสนาในเรื่องปลีกย่อยต่าง ๆ ที่ต้องได้มาจากผู้ที่ปราศจากการบิดเบือนหรือคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริงแก่ประชาชน |
|||
=== ช่วงต่างๆของการดำรงค์ตำแหน่ง === |
|||
; รายชื่อผู้ดำรงค์ตำแหน่งสิบสองท่านในปีต่างๆ |
|||
2- '''การเป็นผู้นำ-ผู้ปกครองของสังคม''' : |
|||
; <small>توضیحات</small> |
|||
ความเป็นผู้นำคำนี้ถือเป็นคำที่เข้าใจเหมือนกันในหมู่มุสลิมทั้งชีอะฮ์และอะฮ์ลิซซุนนีะฮ์ หมายถึงการยอมรับว่าสังคมจะต้องมีบุคคลหนึ่งที่มาเป็นผู้นำทางสังคมโยที่ฝ่ายอะฮ์ลิซซุนนะฮ์จะเรียกโยใช้คำว่า (คอลีฟะฮ์) โดยที่พวกเขายอมรับว่าให้มีตำแหน่งนี้จากากรเลือกโดยตัวแทนของสังคมหมายถึงเหล่าสาวกในยุคนั้น (ชูรอ) วึ่งณตอนนั้นถือเป็นประเด็นถกเถียงและขัดแย้งกันอย่างมากในหมู่สาวกของท่าศาสดา (ศ) ถึงขั้นที่มีสาวกบางท่านยกดาบฟาดฟัดกันเพื่อได้มาซึ่งตำแหน่งนี้, แต่ในมุมมองของชีอะฮ์ บุคคลดังกล่าวจะต้องมีคุณสมบัติต่าง ๆ ที่เหมาะสมทั้งมนด้านของความรู้ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ต่อศาสนา, ต้องเป็นผู้บริสุทธิ์, เป็นผู้ที่มีความยุติธรรมและมีหลักฐานยืยยันการเป็นตัวแทนของเขาเพื่อที่จะสามารถวินิจฉัยและชี้นำอิสลามได้อย่างถูกต้องและตามมาซึ่งหน้าที่ของประชาชนในการยอมรับและปฏิบัติตามลำดับต่อไป |
|||
== อิมามัตกับการปกครองของราชวงศ์ต่างๆ == |
|||
طبق منابع متعدد مورد تایید شیعه، امامان یاران نزدیکی داشتهاند که بدون برنامه ریزی و از روی گرایش محبت به خاندان امامت، دربارهی همکاری خود با دستگاه حکومتیِ خلافت، با امامان مشورت کرده و در عمل به نیروی نفوذی امامان در دستگاه حکومتی تبدیل میشدهاند و از توطئهها و دسیسههای خلفا در قبال امامان به آنها خبر میدادهاند.<ref>http://rasekhoon.net/article/show/1357147/سیره-معصومان-در-نفوذ-و-کشف-توطئه-های-دشمنان |
|||
</ref> |
|||
ตามที่โองการ 59 ซูเราะห์นิซาอ์ : |
|||
== Bibliography == |
|||
* [http://www.al-haqaeq.com/farsi/library/lib-sec.php?secid=1 کتابخانه امامت] سید علی حسینی میلانی |
|||
'''''บรรดาผู้มีศรัทธา! จงเชื่อฟังอัลลอฮฺ และเชื่อฟังศาสนทูต และผู้ปกครองในหมู่พวกเธอเถิด แต่ถ้าพวกเธอขัดแย้งกันในสิ่งใด ก็จงนำสิ่งนั่นกลับไปยังอัลลอฮฺและศาสนทูต หากพวกเธอศรัทธาต่ออัลลอฮฺและวันปรโลก นั่นแหละเป็นสิ่งที่ดียิ่งและเป็นการกลับไปที่สวยงามยิ่ง''''' |
|||
และโองการที่55ซูเราะห์มาอิดะฮ์: |
|||
'''''อันที่จริง มิตรของพวกเธอนั้นคืออัลลอฮฺ และศาสนทูตของพระองค์และบรรดาผู้มีศรัทธาที่ดำรงไว้ซึ่งการนมาซ และชำระซะกาต และขณะเดียวกันพวกเขาก็เป็นผู้ก้มรุกูอฺ''''' |
|||
3- '''การเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณ''': |
|||
หมายถึงการที่พวกท่านสามารให้การอนุเคราะห์และช่วยเหลือผู้อื่นได้เนื่องจากฐานันดรอันสูงส่งที่พวกท่านมีณเอกองค์อัลลอฮ์ (ซ.บ.) |
|||
=== การดำรงตำแหน่งในยุคสมัยต่าง ๆ ของพวกท่าน : === |
|||
ช่วงเริ่มต้นของตำแหน่งอิมามะฮ์จนยุคของการเร้นกายของอิมามท่านที่สิบสองมีสี่ยุคสมัยดังต่อไปนี้: |
|||
# '''ยุคของมีอยู่ของอิมาม''' เริ่มตั้งแต่สมัยของอิมามอลี (อ) จนถึงการเร้นกายของอิมามมะฮ์ดี (อ) <ref>มุฏอฮรี , มุรตะฏอ, อิมามะฮ์ วะ ระฮ์บะรี </ref> |
|||
# '''ยุคของการเร้นกาย''' เริ่มตั้งแต่การเร้นกายระยะสั้นของอิมามมะฮ์ดีย์ (อ) ครอบคลุมระยะยาวไปจนถึงช่วงการปรากฏตัวของท่าน.<ref>ชะฮรฺอาชูบ, มุฮัมมหัด, มะนากิบ</ref> |
|||
# '''ยุคของการปรากฏตัวของอิมามท่านที่สิบสอง''' เริ่มตั้งแต่หารปรากฏตัวของท่านไปจนถึงการสิ้นสุดการปกครองของท่าน.<ref>มุฮัมมหัด อิบนิ อิบรอฮีม , กิตาบุ้ลฆีย์บะฮ์</ref> |
|||
# '''ยุคของริจอัต''' เริ่มตั้งแต่การกลับมาของเอาลิยาบางท่านจนวันสิ้นสุดของโลกดุนยานี้.<ref>บิฮารุนอันวาร, เล่มที่53</ref> |
|||
== รายชื่อผู้ดำรงค์ตำแหน่งสิบสองท่านในปีต่าง ๆ == |
|||
# [[อะลี อิบน์ อะบี ฏอลิบ|อาลี อิบน์ อะบี ฏอลิบ]] ตั้งแต่ 632-661 ฮ.ศ. |
|||
# [[ฮะซัน อับมุจะตะบา]] ตั้งแต่ 661-670 ฮ.ศ. |
|||
# ฮุเซน อัชชะฮีด ตั้งแต่ 670-680 ฮ.ศ. |
|||
# อาลี ซัยนุลอาบิดีน ตั้งแต่ 680-712 ฮ.ศ. |
|||
# มุฮัมมัด อัลบากิร ตั้งแต่ 712-732 ฮ.ศ. |
|||
# ญะอฺฟัร อัศศอดิก ตั้งแต่ 732-765 ฮ.ศ. |
|||
# [[มูซา]] อัลกาซิม ตั้งแต่ 765-799 ฮ.ศ. |
|||
# อาลี อัรริฎอ ตั้งแต่ 799-817 ฮ.ศ. |
|||
# มุฮัมมัด อัตตะกีย์ ตั้งแต่ 817-835 ฮ.ศ. |
|||
# อาลี อันนะกี ตั้งแต่ 835-868 ฮ.ศ. |
|||
# อะซัน อัลอัสการี ตั้งแต่ 868-874 ฮ.ศ. |
|||
# ฮุจจะตุ้ล มะฮดีย์ ตั้งแต่ 874 ฮ.ศ.จนถึงปัจจุบัน |
|||
== หมายเหตุ == |
|||
;* รูปแบบการเรียงลำดับข้างต้นเป็นไปตามความเชื่อของนิกายชีอะฮ์อิมามียะฮ์ |
|||
;* ตามทัสนะของชีอะฮ์ อิมาม อาลี ดำรงตำแหน่งอิมามะฮ์ตั้งแต่การจากไปของท่านศาสดา (ศ) แต่ได้รับตำแหน่งผู้ปกครองประชาชาติมุสลิมภายหลังการเสียชีวิตของ อุษมาน คอลีฟะฮ์คนที่สาม |
|||
;* การดำรงตำแหน่งอิมามะฮ์จะเริ่มต้นหลังจากการเสียชีวิตของอิมามท่านก่อนทันที |
|||
;* อิมาม มะฮดีย์ อิมามท่านที่ สิบสอง ดำรวค์ตำแหน่งอิมามะฮ์ตั้งแต่การจากำปของอิมามฮะซัน อัสการี มาจนถึงปัจจุบัน .<ref>{{Cite web |url=http://rasekhoon.net/article/show/1357147/%D8%B3%DB%8C%D8%B1%D9%87-%D9%85%D8%B9%D8%B5%D9%88%D9%85%D8%A7%D9%86-%D8%AF%D8%B1-%D9%86%D9%81%D9%88%D8%B0-%D9%88-%DA%A9%D8%B4%D9%81-%D8%AA%D9%88%D8%B7%D8%A6%D9%87-%D9%87%D8%A7%DB%8C-%D8%AF%D8%B4%D9%85%D9%86%D8%A7%D9%86 |title=สำเนาที่เก็บถาวร |access-date=2018-02-09 |archive-date=2018-02-07 |archive-url=https://web.archive.org/web/20180207182822/http://rasekhoon.net/article/show/1357147/%D8%B3%DB%8C%D8%B1%D9%87-%D9%85%D8%B9%D8%B5%D9%88%D9%85%D8%A7%D9%86-%D8%AF%D8%B1-%D9%86%D9%81%D9%88%D8%B0-%D9%88-%DA%A9%D8%B4%D9%81-%D8%AA%D9%88%D8%B7%D8%A6%D9%87-%D9%87%D8%A7%DB%8C-%D8%AF%D8%B4%D9%85%D9%86%D8%A7%D9%86/ |url-status=dead }}</ref> |
|||
== อ้างอิง == |
|||
* ฮะซันซฺอเดะฮ์ อามุลี, ฮะซัน. انسان کامل از دیدگاه نهجالبلاغه. |
|||
* มุฎอฮะรี, มุรตะฏอ. [http://www.motahari.org/asaar/books.htm امامت و رهبری] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20060615060216/http://www.motahari.org/asaar/books.htm |date=2006-06-15 }}انتشارات صدرا, สำนักพิมพ์ศ็อดรอ. |
|||
* เคอร์บิน, ฮันรี่. Historie de la Philosophie Islamique. แปลฟาร์ซี: ญะวาด ตอบาตอบาอี, [[เตหะราน]], กะวีรสำนักพิมพ์อิหร่านศึกษา ภาคฝรั่งเศส. |
|||
<references /> |
|||
== บรรณานุกรม == |
|||
* [http://www.al-haqaeq.com/farsi/library/lib-sec.php?secid=1 کتابخانه امامت] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20180522083541/http://www.al-haqaeq.com/farsi/library/lib-sec.php?secid=1 |date=2018-05-22 }} سید علی حسینی میلانی |
|||
* [http://www. امامت.com/library/persian-book/imam-logy امامشناسی]، تالیف علامهآیتالله حاجسیّدمحمّدحسین حسینیطهرانی مجموعهای است از بحثهای تفسیری، فلسفی، روائی، تاریخی، اجتماعی دربارهٔ امامت و ولایت بطور کلّی. |
* [http://www. امامت.com/library/persian-book/imam-logy امامشناسی]، تالیف علامهآیتالله حاجسیّدمحمّدحسین حسینیطهرانی مجموعهای است از بحثهای تفسیری، فلسفی، روائی، تاریخی، اجتماعی دربارهٔ امامت و ولایت بطور کلّی. |
||
* [http://www. امامت.com/library/persian-book/hayat-ol-gholoob حیات القلوب جلد ۵: امام شناسی] تالیف علامه مجلسی (رحمه الله). |
* [http://www. امامت.com/library/persian-book/hayat-ol-gholoob حیات القلوب جلد ۵: امام شناسی] تالیف علامه مجلسی (رحمه الله) . |
||
* [http://www.al-shia.com/html/far/books/hadith/esmat/index.htm عصمت]، جعفر سبحانی |
* [http://www.al-shia.com/html/far/books/hadith/esmat/index.htm عصمت] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20060506130549/http://www.al-shia.com/html/far/books/hadith/esmat/index.htm |date=2006-05-06 }}، جعفر سبحانی |
||
* [http://www.al-shia.com/html/far/books/motahar/siryh_aem/fehrest.htm سیری در سیره ائمه اطهار]، مرتضیٰ مطهری |
* [http://www.al-shia.com/html/far/books/motahar/siryh_aem/fehrest.htm سیری در سیره ائمه اطهار] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070303152049/http://al-shia.com/html/far/books/motahar/siryh_aem/fehrest.htm |date=2007-03-03 }}، مرتضیٰ مطهری |
||
* [http://www.al-shia.com/html/far/books/falsafe/eteghad/index.htm اعتقاد ما]، ناصر مکارم شیرازی |
* [http://www.al-shia.com/html/far/books/falsafe/eteghad/index.htm اعتقاد ما] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20070929130502/http://www.al-shia.com/html/far/books/falsafe/eteghad/index.htm |date=2007-09-29 }}، ناصر مکارم شیرازی |
||
* [http://www.toraath.com/index.php?name=Downloads&req=getit&lid=125 PDF کتاب المراجعات]، ترجمه سردار کابلی، در [http://www.toraath.com پایگاهاینترنتی تراث] |
* [http://www.toraath.com/index.php?name=Downloads&req=getit&lid=125 PDF کتاب المراجعات]، ترجمه سردار کابلی، در [http://www.toraath.com پایگاهاینترنتی تراث] |
||
* [http://www.saamentv.ir/fa/index.php?option=com_remository&Itemid=134&func=startdown&id=35 PDF کتاب المراجعات]، ترجمهٔ محمد جعفر امامی، در [http://www.saamentv.ir پایگاهاینترنتی شبکه ثامن] |
* [http://www.saamentv.ir/fa/index.php?option=com_remository&Itemid=134&func=startdown&id=35 PDF کتاب المراجعات] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20100727050033/http://saamentv.ir/ |date=2010-07-27 }}، ترجمهٔ محمد جعفر امامی، در [http://www.saamentv.ir پایگاهاینترنتی شبکه ثامن] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20100727050033/http://saamentv.ir/ |date=2010-07-27 }} |
||
* [http://www.aqaed.com/book/75 الامامةوالتبصرة من الحیرة] أبی الحسن علی بن الحسین بن بابویه القمی |
* [http://www.aqaed.com/book/75 الامامةوالتبصرة من الحیرة] أبی الحسن علی بن الحسین بن بابویه القمی |
||
* [http://www.aqaed.com/book/125 تصحیح إعتقادات الإمامیة] شیخ المفید |
* [http://www.aqaed.com/book/125 تصحیح إعتقادات الإمامیة] شیخ المفید |
||
* [http://www.aqaed.com/book/128 التعجب من أغلاط العامة فی مسألة الإمامة] الشیخ القاضی أبی الفتح محمد بن علی بن عثمان الکراجکی |
* [http://www.aqaed.com/book/128 التعجب من أغلاط العامة فی مسألة الإمامة] الشیخ القاضی أبی الفتح محمد بن علی بن عثمان الکراجکی |
||
== เชิงอรรถ == |
|||
{{پانویس}} |
|||
== جستارهای وابسته == |
|||
* [[ชีอะฮ์|Shia]] ชีอะฮ์ |
|||
* [[อิหม่าม|Imam]] อิมาม |
|||
* مفترض الطاعه |
|||
== แหล่งอ้างอิง == |
|||
* ฮะซันซฺอเดะฮ์ อามุลี ,ฮะซัน ؛ انسان کامل از دیدگاه نهجالبلاغه |
|||
* มุฎอฮะรี، มุรตะฏอ؛ [http://www.motahari.org/asaar/books.htm امامت و رهبری]؛ انتشارات صدرا สำนักพิมพ์ ศ็อดรอ |
|||
* เคอร์บิน، ฮันรี่ ؛ Historie de la Philosophie Islamique؛ แปลฟารซี: จะวาด ตอบาตอบาอี ؛ [[เตหะราน]]: กะวีร، انجمن ایرانشناسی فرانسه |
|||
ศอเฮียะฮ์บุคอรี,หัวข้อ ความประเสริฐของอลี อบนิ อบี ตอลิบ,เล่มที่2 ,หน้า200 |
|||
[[หมวดหมู่:แม่แบบศาสนาอิสลาม]] |
[[หมวดหมู่:แม่แบบศาสนาอิสลาม]] |
||
[[หมวดหมู่:รัฐอิสลามแบ่งตามประเภท]] |
|||
<references /> |
รุ่นแก้ไขเมื่อ 03:29, 15 มิถุนายน 2567
อิมามะฮ์ (อาหรับ: إمامة) หรือ ตำแหน่งการเป็นผู้นำ ตัวแทนท่านศาสดา (ศ) ถือเป็นหนึ่งในหลักศรัทธาของอิสลามนิกายชีอะฮ์ และเนื่องจากความสำคัญยิ่งยวดของหลักศรัทธาข้อนี้ พวกเขาจึงมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า กลุ่มอิมามียะฮ์[1]
คำว่า อิมามะฮ์ ตามรากศัพท์ภาษาอาหรับ หมายถึง ผู้นำ และตามจริงแล้วทุกประชาชาติและกลุ่มชนไม่สามารถอยู่ได้โดยปราศจากผู้นำ
หลักศรัทธาชองนิกายชีอะฮ์ : เตาฮีด, นุบูวัต, มะอาด, อัดล์ และอิมามะฮ์
บรรดาชีอะฮ์จะอ้างอิงความเชื่อทั้งหมดของพวกเขาจากโองการในพระมหาคัมภีร์อัลกุรอานและในเรื่องของอิมามะฮ์ก็เช่นเดียวกัน
อิมามะฮ์-ตำแหน่งผู้นำในคัมภีร์อัลกุรอาน
- ในโองการที่24 ซูเราะห์ อัสสัจญ์ดะฮ์ ได้กล่าวไว้ว่า:
وَجَعَلْنَا مِنْهُمْ أَئِمَّةً يَهْدُونَ بِأَمْرِنَا لَمَّا صَبَرُوا وَكَانُوا بِآيَاتِنَا يُوقِنُونَ
อัส-สัจญ์ดะฮฺ - 24
และเราได้จัดให้มีหัวหน้าจากพวกเขา เพื่อจะได้ชี้แนะแนวทางที่ถูกต้องตามคำบัญชาของเรา ในเมื่อพวกเขามีความอดทนและพวกเขาเชื่อมั่นต่ออายาตทั้งหลายของเรา
- ในซูเราห์ อัลบะเกาะเราะฮ์ โองการที่124ก็ได้กล่าวไว้เช่านเดียวกันว่า:
وَإِذِ ابْتَلَىٰ إِبْرَاهِيمَ رَبُّهُ بِكَلِمَاتٍ فَأَتَمَّهُنَّ قَالَ إِنِّي جَاعِلُكَ لِلنَّاسِ إِمَامًا قَالَ وَمِن ذُرِّيَّتِي قَالَ لَا يَنَالُ عَهْدِي الظَّالِمِينَ อัลบะเกาะเราะฮ์ - 124 และจงรำลึกถึง ขณะที่พระเจ้าของอิบรอฮีมได้ทดสอบเขา ด้วยพระบัญชาบางประการ แล้วเขาก็ได้สนองตามพระบัญชานั้นโดยครบถ้วน พระองค์ตรัสว่า แท้จริงข้าจะให้เจ้าเป็นผู้นำมนุษย์ชาติ เขากล่าวว่า และจากลูกหลานของข้าพระองค์ด้วย พระองค์ตรัสว่า สัญญาของข้านั้นจะไม่ได้แก่บรรดาผู้อธรรม.
อิมามะฮ์ (ตำแหน่งผู้นำ) ในฮะดีษ
- ในตำราฮะดีษของสายอะฮลิซซุนนะฮ์ ศอเฮียะฮ์บุคคอรีและศอเฮียะฮ์มุสลิม, มุสนัด ตอยาลีซี และ อะฮ์หมัด อิบนิ ฮันบัล, ซุนันติรมีซี และ อิบนิ มาญะฮ์ และตำราอ้างอิงฮะดีษอื่น ๆ ระบุไว้ว่าท่านศาสดา (ศ) ได้กล่าวกับอิมามอาลีว่า: เจ้าสำหรับข้าเปรียบเสมือนฮารูนสำหรับอิบรอฮีม แตกต่างกันตรงที่หลังจากฉันจะไม่มีนบีอีกแล้วเท่านั้น [3]
จำนวนของอิมาม
ชีอะฮ์อ้างอิงรายงานจากจาบิร อันศอรี และจากรายงานของท่านอื่น ๆ มีความเชื่อว่าอิมามทั้งหมดมีสิบสองท่านซึ่งถูกเลือกจากพระองค์อัลลอฮ์ (ซ.บ.) และได้รับการแต่งตั้งตั้งแต่ในยุคของศาสดามุฮัมมัด (ศ) นักวิชาการบางท่านอ้างอิงประเด็นการเป็นอิมามจาะฮะดีษษะกอลัยน์ ตัวอย่างเช่น ท่านมุสลิมบันทึกไว้ในตำราฮะดีษของเขาว่ารายงานจากท่านญาบิรบิน ษะมะเราะห์ ที่กล่าวว่าฉันได้ยินมาจากท่านศาสดา (ศ) ว่าท่านกล่าวว่า :
ศาสนานี้จะดำเนินสืบต่อไปจนกว่าจนกว่าอิมามทั้งสิบสองท่านจะขึ้นมาดำรงค์ตำแหน่งคอลีฟะฮ์, ซึ่งคอลีฟะฮ์เหล่านี้ล้วนมาจากเผ่ากุเรชทั้งสิ้น.
ในริวายัตอีกบทหนึ่ง ศาสดา (ศ) ได้กล่าวว่า : การงานของประชาชาติในยุคนี้จะราบรื่นเสมอจนกว่าคอลีฟะฮ์ทั้งสิบสองท่านนี้จะจากไป
รายชื่ออิมามทั้งสิบสองท่าน
ชีอะฮ์อ้างอิงรายงานจาก จาบิร อันศอรี และจากรายงานของท่านอื่น ๆ มีความเชื่อว่าอิมามทั้งหมดมีสิบสิงท่านซึ่งถูกเลือกจากพระองค์อัลลอฮ์ (ซ.บ.) และแต่งตั้งตั้งแต่ในยุคของท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ) นักวิชาการบางท่านอ้างอิงประเด็นการเป็นอิมามจาะฮะดีษษะกอลัยน์ ตัวอย่างเช่น ท่านมุสลิมบันทึกไว้ในตำราฮะดีษของเขาว่ารายงานจากท่านจาบิรบิน ษะมะเราะห์ ที่กล่าวว่าฉันได้ยินมาจากท่านศาสดา (ศ) ว่าท่านกล่าวว่า:
ศาสนานี้จะดำเนินสืบต่อไปจนกว่าจนกว่าอิมามทั้งสิบสองท่านจะขึ้นมาดำรงค์ตำแหน่งคอลีฟะฮ์, ซึ่งคอลีฟะฮ์เหล่านี้ล้วนมาจากเผ่ากุเรชทั้งสิ้น.[4]
ในริวายัตอีกบทหนึ่งทานศาสดา (ศ) ได้กล่าวว่า:การงาานของปราชาชาติในยุคนี้จะราบรื่นเสมอจนกว่าคอลีฟะฮ์ทั้งสิบสองท่านนี้จะจากไป[5]
รายชื่อมีดังต่อไปนี้:
อิมามญุวัยนีรายงานจากอับดุลลอฮ์ อิบนิอับบาส ว่าทานศาสดา (ศ) กล่าวว่า:
ฉันเป็นหัวหน้าของบรรดาอัมบิยา (ศาสดา) ทั้งหลายและอลี อิบนิ อบีตอลิบเป็นหัวหน้าของเอาศิยา (ตัวแทนศาสดา) ทั้งหลายและเอาศิยาเหล่านี้มีทั้งหมดสิบสองท่านคนแรกของพวกเขาคืออลี อิบนิ อบี ฎอลิบ และคนสุดท้ายของพวกเขาคือ มะฮ์ดี.
อิมามญุวัยนยังรายงานต่อจากสายรายงานเดิมอีกว่าฉันได้ยินจากศาสดา (ศ) ที่ท่านกล่าว่า:
ฉัน อลี และ ฮะซัน และบุตรอีกเก้าคนจากเชื้อสายของฮุเซน คือผู้บริสุทธิ์ และไร้มลทิน.
- 1-อาลี อิบน์ อะบี ฏอลิบ บุตรของอะบูฏอลิบ ผู้เป็นลูกพี่ลูกน้องของนบีมุฮัมมัด นบีได้ชุบเลี้ยงมาตั้งแต่ยังเยาว์ เป็นผู้แรกที่ศรัทธาต่อศาสนาอิสลาม ภายหลังสมรสกับท่านหญิงฟาฏิมะฮ์ ธิดานบีมุฮัมมัด
- 2-ฮะซัน บุตรของอะลีย์ และฟาฏิมะหฺ
- 3- ฮุเซน บุตรของอะลีย์ และฟาฏิมะหฺ น้องชายของฮะซัน
- 4-อาลี ซัยนุลอาบิดีน บุตรอิมามที่3
- 5- มุฮัมมัด อัลบากิร บุตรอิมามที่ 4
- 6-ญะอฺฟัร อัศศอดิก บุตรอิมามที่ 5
- 7-มูซา อัลกาซิม บุตรอิมามที่ 6
- 8-อาลี อัรริฎอ บุตรอิมามที่ 7
- 9- อัตตะกีย์ บุตรอิมามที่ 8
- 10-อัลฮาดี บุตรอิมามที่ 9
- 11- ฮะซัน อัลอัสกะรีย์ บุตรอิมามที่ 10
- 12-มุฮัมมัด อัลมะฮ์ดี บุตรอิมามที่ 11
คุณสมบัติต่าง ๆ
- ความบริสุทธิ์ : ปราศจากความผิดบาปของอิมามทั้งสิบสองท่านรวมถึงท่านศาสดาและท่านหญิงฟาติมะฮ์ทั้งหมดเป็นสิบสี่ท่าน, จากนัยยะและการอธิบายของโองการตัฎฮีรหมายถึงโองการที่33 ซูเราะห์ อะห์ซฺาบ บ่งชี้ว่าพวกท่านเหล่านี้ปราศจากความผิดบาปทุกประเภทอย่างไม่มีเงื่อนไขใด ๆ ไม่ว่าจะเป็นบาปเล็กหรือบาปใหญ่ก็ตามเพราะการเป็นผู้นำและแบบฉบับนั้นจะต้องเป็นผู้ที่ปราศจากข้อผิดพลาดทุกประการจึงจะเป็นข้อพิสูจน์สำหรับผู้อื่นได้.
- ความยุติธรรม :
- ความรู้ :
- การเป็นข้อพิสูจน์ :
- การเป็นผู้นำ :
หน้าที่ความรับผิดชอบ
1- การเป็นศูนย์กลางทางด้านศาสนา
ในมุมมองของชีอะฮ์ หลังจากการบัญญัติทางศาสนาเสร็จสิ้นแล้วโดยท่านศาสดา (ศ) อิมามมะอฺศูม (อ) จะเป็นผู้ที่ถ่ายทอดและอรรฐาธิบายวิชาการทางศาสนาในเรื่องปลีกย่อยต่าง ๆ ที่ต้องได้มาจากผู้ที่ปราศจากการบิดเบือนหรือคลาดเคลื่อนจากข้อเท็จจริงแก่ประชาชน
2- การเป็นผู้นำ-ผู้ปกครองของสังคม :
ความเป็นผู้นำคำนี้ถือเป็นคำที่เข้าใจเหมือนกันในหมู่มุสลิมทั้งชีอะฮ์และอะฮ์ลิซซุนนีะฮ์ หมายถึงการยอมรับว่าสังคมจะต้องมีบุคคลหนึ่งที่มาเป็นผู้นำทางสังคมโยที่ฝ่ายอะฮ์ลิซซุนนะฮ์จะเรียกโยใช้คำว่า (คอลีฟะฮ์) โดยที่พวกเขายอมรับว่าให้มีตำแหน่งนี้จากากรเลือกโดยตัวแทนของสังคมหมายถึงเหล่าสาวกในยุคนั้น (ชูรอ) วึ่งณตอนนั้นถือเป็นประเด็นถกเถียงและขัดแย้งกันอย่างมากในหมู่สาวกของท่าศาสดา (ศ) ถึงขั้นที่มีสาวกบางท่านยกดาบฟาดฟัดกันเพื่อได้มาซึ่งตำแหน่งนี้, แต่ในมุมมองของชีอะฮ์ บุคคลดังกล่าวจะต้องมีคุณสมบัติต่าง ๆ ที่เหมาะสมทั้งมนด้านของความรู้ความเข้าใจอย่างถ่องแท้ต่อศาสนา, ต้องเป็นผู้บริสุทธิ์, เป็นผู้ที่มีความยุติธรรมและมีหลักฐานยืยยันการเป็นตัวแทนของเขาเพื่อที่จะสามารถวินิจฉัยและชี้นำอิสลามได้อย่างถูกต้องและตามมาซึ่งหน้าที่ของประชาชนในการยอมรับและปฏิบัติตามลำดับต่อไป
ตามที่โองการ 59 ซูเราะห์นิซาอ์ :
บรรดาผู้มีศรัทธา! จงเชื่อฟังอัลลอฮฺ และเชื่อฟังศาสนทูต และผู้ปกครองในหมู่พวกเธอเถิด แต่ถ้าพวกเธอขัดแย้งกันในสิ่งใด ก็จงนำสิ่งนั่นกลับไปยังอัลลอฮฺและศาสนทูต หากพวกเธอศรัทธาต่ออัลลอฮฺและวันปรโลก นั่นแหละเป็นสิ่งที่ดียิ่งและเป็นการกลับไปที่สวยงามยิ่ง
และโองการที่55ซูเราะห์มาอิดะฮ์:
อันที่จริง มิตรของพวกเธอนั้นคืออัลลอฮฺ และศาสนทูตของพระองค์และบรรดาผู้มีศรัทธาที่ดำรงไว้ซึ่งการนมาซ และชำระซะกาต และขณะเดียวกันพวกเขาก็เป็นผู้ก้มรุกูอฺ
3- การเป็นผู้นำทางจิตวิญญาณ:
หมายถึงการที่พวกท่านสามารให้การอนุเคราะห์และช่วยเหลือผู้อื่นได้เนื่องจากฐานันดรอันสูงส่งที่พวกท่านมีณเอกองค์อัลลอฮ์ (ซ.บ.)
การดำรงตำแหน่งในยุคสมัยต่าง ๆ ของพวกท่าน :
ช่วงเริ่มต้นของตำแหน่งอิมามะฮ์จนยุคของการเร้นกายของอิมามท่านที่สิบสองมีสี่ยุคสมัยดังต่อไปนี้:
- ยุคของมีอยู่ของอิมาม เริ่มตั้งแต่สมัยของอิมามอลี (อ) จนถึงการเร้นกายของอิมามมะฮ์ดี (อ) [6]
- ยุคของการเร้นกาย เริ่มตั้งแต่การเร้นกายระยะสั้นของอิมามมะฮ์ดีย์ (อ) ครอบคลุมระยะยาวไปจนถึงช่วงการปรากฏตัวของท่าน.[7]
- ยุคของการปรากฏตัวของอิมามท่านที่สิบสอง เริ่มตั้งแต่หารปรากฏตัวของท่านไปจนถึงการสิ้นสุดการปกครองของท่าน.[8]
- ยุคของริจอัต เริ่มตั้งแต่การกลับมาของเอาลิยาบางท่านจนวันสิ้นสุดของโลกดุนยานี้.[9]
รายชื่อผู้ดำรงค์ตำแหน่งสิบสองท่านในปีต่าง ๆ
- อาลี อิบน์ อะบี ฏอลิบ ตั้งแต่ 632-661 ฮ.ศ.
- ฮะซัน อับมุจะตะบา ตั้งแต่ 661-670 ฮ.ศ.
- ฮุเซน อัชชะฮีด ตั้งแต่ 670-680 ฮ.ศ.
- อาลี ซัยนุลอาบิดีน ตั้งแต่ 680-712 ฮ.ศ.
- มุฮัมมัด อัลบากิร ตั้งแต่ 712-732 ฮ.ศ.
- ญะอฺฟัร อัศศอดิก ตั้งแต่ 732-765 ฮ.ศ.
- มูซา อัลกาซิม ตั้งแต่ 765-799 ฮ.ศ.
- อาลี อัรริฎอ ตั้งแต่ 799-817 ฮ.ศ.
- มุฮัมมัด อัตตะกีย์ ตั้งแต่ 817-835 ฮ.ศ.
- อาลี อันนะกี ตั้งแต่ 835-868 ฮ.ศ.
- อะซัน อัลอัสการี ตั้งแต่ 868-874 ฮ.ศ.
- ฮุจจะตุ้ล มะฮดีย์ ตั้งแต่ 874 ฮ.ศ.จนถึงปัจจุบัน
หมายเหตุ
- รูปแบบการเรียงลำดับข้างต้นเป็นไปตามความเชื่อของนิกายชีอะฮ์อิมามียะฮ์
- ตามทัสนะของชีอะฮ์ อิมาม อาลี ดำรงตำแหน่งอิมามะฮ์ตั้งแต่การจากไปของท่านศาสดา (ศ) แต่ได้รับตำแหน่งผู้ปกครองประชาชาติมุสลิมภายหลังการเสียชีวิตของ อุษมาน คอลีฟะฮ์คนที่สาม
- การดำรงตำแหน่งอิมามะฮ์จะเริ่มต้นหลังจากการเสียชีวิตของอิมามท่านก่อนทันที
- อิมาม มะฮดีย์ อิมามท่านที่ สิบสอง ดำรวค์ตำแหน่งอิมามะฮ์ตั้งแต่การจากำปของอิมามฮะซัน อัสการี มาจนถึงปัจจุบัน .[10]
อ้างอิง
- ฮะซันซฺอเดะฮ์ อามุลี, ฮะซัน. انسان کامل از دیدگاه نهجالبلاغه.
- มุฎอฮะรี, มุรตะฏอ. امامت و رهبری เก็บถาวร 2006-06-15 ที่ เวย์แบ็กแมชชีนانتشارات صدرا, สำนักพิมพ์ศ็อดรอ.
- เคอร์บิน, ฮันรี่. Historie de la Philosophie Islamique. แปลฟาร์ซี: ญะวาด ตอบาตอบาอี, เตหะราน, กะวีรสำนักพิมพ์อิหร่านศึกษา ภาคฝรั่งเศส.
- ↑ ซัยยิดมุรตะฏอ. อำนาจการปกครองของอิมามอลีในโองการและฮะดีษ. สำนักพิมพ์มุนีร, พิมพ์ครั้งที่ 7.
- ↑ มุฮ์ซิน , กิรออัตตี ตัฟซีร นูร , เล่ม7, หน้า318.
- ↑ ศอเฮี้ยะฮ์บุคอรี , หัวข้อ ความประเสริฐของอลี อิบนิ อบี ตอลิบ , เล่ม2/200
- ↑ มุสลิม, ศอเฮียะฮ์มุสลิม, เล่ม3, 1453, ฮะดีษบทที่1821
- ↑ มุนตะคอบ กันซุลอุมมาล, เล่ม5, 321
- ↑ มุฏอฮรี , มุรตะฏอ, อิมามะฮ์ วะ ระฮ์บะรี
- ↑ ชะฮรฺอาชูบ, มุฮัมมหัด, มะนากิบ
- ↑ มุฮัมมหัด อิบนิ อิบรอฮีม , กิตาบุ้ลฆีย์บะฮ์
- ↑ บิฮารุนอันวาร, เล่มที่53
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2018-02-07. สืบค้นเมื่อ 2018-02-09.
บรรณานุกรม
- کتابخانه امامت เก็บถาวร 2018-05-22 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน سید علی حسینی میلانی
- امامت.com/library/persian-book/imam-logy امامشناسی، تالیف علامهآیتالله حاجسیّدمحمّدحسین حسینیطهرانی مجموعهای است از بحثهای تفسیری، فلسفی، روائی، تاریخی، اجتماعی دربارهٔ امامت و ولایت بطور کلّی.
- امامت.com/library/persian-book/hayat-ol-gholoob حیات القلوب جلد ۵: امام شناسی تالیف علامه مجلسی (رحمه الله) .
- عصمت เก็บถาวร 2006-05-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน، جعفر سبحانی
- سیری در سیره ائمه اطهار เก็บถาวร 2007-03-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน، مرتضیٰ مطهری
- اعتقاد ما เก็บถาวร 2007-09-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน، ناصر مکارم شیرازی
- PDF کتاب المراجعات، ترجمه سردار کابلی، در پایگاهاینترنتی تراث
- PDF کتاب المراجعات เก็บถาวร 2010-07-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน، ترجمهٔ محمد جعفر امامی، در پایگاهاینترنتی شبکه ثامن เก็บถาวร 2010-07-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- الامامةوالتبصرة من الحیرة أبی الحسن علی بن الحسین بن بابویه القمی
- تصحیح إعتقادات الإمامیة شیخ المفید
- التعجب من أغلاط العامة فی مسألة الإمامة الشیخ القاضی أبی الفتح محمد بن علی بن عثمان الکراجکی