ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต"
Love Krittaya (คุย | ส่วนร่วม) |
Rescuing 1 sources and tagging 0 as dead.) #IABot (v2.0.9.5 |
||
(ไม่แสดง 7 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 4 คน) | |||
บรรทัด 1: | บรรทัด 1: | ||
'''กำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต''' ({{lang-en|Abiogenesis}}) เป็นสมมติฐานเกี่ยวกับกระบวนการทางธรรมชาติเกี่ยวกับการกำเนิดของ[[สิ่งมีชีวิต]]จากสิ่งไม่มีชีวิตบน[[โลก]] เช่น [[ปลา]]เกิดจาก[[ดิน]]โคลนในแม่น้ำลำคลอง โดยสมมติฐานนี้ตั้งแต่[[สมัยอริสโตเติล]]<ref>[http://human.uru.ac.th/Major_online/SOC/01Intro/LIFE1.HTM แนวความคิดเกี่ยวกับการเกิดสิ่งมีชีวิต] .คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์</ref> ซึ่ง[[ฟรานเซสโก เรดิ]] และ[[หลุยส์ ปาสเตอร์]] ได้พิสูจน์ว่า[[สิ่งมีชีวิต]]ไม่สามารถเกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต สมมติฐานจึงไม่เป็นที่ยอมรับ<ref>[http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=1559 สรุปการกำเนิดสิ่งมีชีวิต] .ก้าวทุกวินาที กับ... สหวิชา.com</ref> |
'''กำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต''' ({{lang-en|Abiogenesis}}) เป็นสมมติฐานเกี่ยวกับกระบวนการทางธรรมชาติเกี่ยวกับการกำเนิดของ[[สิ่งมีชีวิต]]จากสิ่งไม่มีชีวิตบน[[โลก]] เช่น [[ปลา]]เกิดจาก[[ดิน]]โคลนในแม่น้ำลำคลอง โดยสมมติฐานนี้ตั้งแต่[[สมัยอริสโตเติล]]<ref>[http://human.uru.ac.th/Major_online/SOC/01Intro/LIFE1.HTM แนวความคิดเกี่ยวกับการเกิดสิ่งมีชีวิต] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20160708160910/http://human.uru.ac.th/Major_online/SOC/01Intro/LIFE1.HTM |date=2016-07-08 }} .คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์</ref> ซึ่ง[[ฟรานเซสโก เรดิ]] และ[[หลุยส์ ปาสเตอร์]] ได้พิสูจน์ว่า[[สิ่งมีชีวิต]]ไม่สามารถเกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต สมมติฐานจึงไม่เป็นที่ยอมรับ<ref>[http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=1559 สรุปการกำเนิดสิ่งมีชีวิต] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20121004064017/http://sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge&id=1559 |date=2012-10-04 }} .ก้าวทุกวินาที กับ... สหวิชา.com</ref> |
||
==ประวัติ== |
==ประวัติ== |
||
[[ไฟล์:Miller-Urey experiment-en.svg|250px|thumb|ภาพอธิบาลและจำลองการทดลองของ[[สแตนลีย์ มิลเลอร์]]]] |
[[ไฟล์:Miller-Urey experiment-en.svg|250px|thumb|ภาพอธิบาลและจำลองการทดลองของ[[สแตนลีย์ มิลเลอร์]]]] |
||
สมมติฐานกำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิตมีจุดเริ่มต้นจากสมมติฐานของนักปราชญ์หลายคน ได้แก่ [[ธาเลส]], [[เซโนเฟน]], [[อนาซากอรัส]] และ[[อริสโตเติล]] ได้อธิบายไว้ว่าในทำนองเดียวกันว่า "ชีวิตเกิดจาก[[สารอนินทรีย์]]"<ref>[http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/6/earth/index7.htm สิ่งมีชีวิตเกิดจากโคลนต] .ฟิสิกส์ราชมงคล</ref><ref>[http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/6/earth/index8.htm สรุปชีวิตเกิดจากองค์ประกอบของธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ] .ฟิสิกส์ราชมงคล</ref> โดยเฉพาะ[[อริสโตเติล]]ที่ได้สั่งสอนและตีพิมพ์ในหนังสือ "On the Original of Animals"<ref>[http://www.waghor.go.th/v1/elearning/nature/aquariam1-1.php กว่าจะเป็นชีวิต] .อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์</ref> แต่สมมติฐานกลับถูกทิ้งไว้นาน จนในปี [[ค.ศ. 1955]] [[บลูม]] ให้สมมติฐานกำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิตว่า "ชีวิตเริ่มแรกอาจเกิดขึ้นเองได้ แต่ปรากฏการณ์เช่นนี้จะเกิดขึ้นช่วงระยะสั้นมากเมื่อประมาณไม่น้อยกว่า 3 พันล้านปีมาแล้ว เนื่องจากในช่วงนั้นมีสภาวะที่อำนวยให้เกิดชีวิตจากสิ่งไม่มีชีวิตได้ เมือชีวิตเริ่มแรกเกิดขึ้นแล้วสภาพที่เหมาะสมที่จะอำนวยให้เกิดชีวิตนั้นเปลี่ยนไปไม่มีอีกต่อไป ชีวิต |
สมมติฐานกำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิตมีจุดเริ่มต้นจากสมมติฐานของนักปราชญ์หลายคน ได้แก่ [[ธาเลส]], [[เซโนเฟน]], [[อนาซากอรัส]] และ[[อริสโตเติล]] ได้อธิบายไว้ว่าในทำนองเดียวกันว่า "ชีวิตเกิดจาก[[สารอนินทรีย์]]"<ref>[http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/6/earth/index7.htm สิ่งมีชีวิตเกิดจากโคลนต] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20120829213140/http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/6/earth/index7.htm |date=2012-08-29 }} .ฟิสิกส์ราชมงคล</ref><ref>[http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/6/earth/index8.htm สรุปชีวิตเกิดจากองค์ประกอบของธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20120829210836/http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/6/earth/index8.htm |date=2012-08-29 }} .ฟิสิกส์ราชมงคล</ref> โดยเฉพาะ[[อริสโตเติล]]ที่ได้สั่งสอนและตีพิมพ์ในหนังสือ "On the Original of Animals"<ref>[http://www.waghor.go.th/v1/elearning/nature/aquariam1-1.php กว่าจะเป็นชีวิต] .อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์</ref> แต่สมมติฐานกลับถูกทิ้งไว้นาน จนในปี [[ค.ศ. 1955]] [[บลูม]] ให้สมมติฐานกำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิตว่า "ชีวิตเริ่มแรกอาจเกิดขึ้นเองได้ แต่ปรากฏการณ์เช่นนี้จะเกิดขึ้นช่วงระยะสั้นมากเมื่อประมาณไม่น้อยกว่า 3 พันล้านปีมาแล้ว เนื่องจากในช่วงนั้นมีสภาวะที่อำนวยให้เกิดชีวิตจากสิ่งไม่มีชีวิตได้ เมือชีวิตเริ่มแรกเกิดขึ้นแล้วสภาพที่เหมาะสมที่จะอำนวยให้เกิดชีวิตนั้นเปลี่ยนไปไม่มีอีกต่อไป ชีวิตต่อ ๆ มาจึงเกิดมาจากวิวัฒนาการสืบทอดต่อกันมา ซึ่งไปสอดคล้องกับในปัจจุบันเป็นผลผลิตของชีวิตในอดีตโดยผ่านการคัดเลือกโดยธรรมชาติ" |
||
===การทดลอง=== |
===การทดลอง=== |
||
ในช่วง[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] เริ่มมีการทดลองสมมติฐานนี้โดย ในปี [[ค.ศ. 1953]] [[สแตนลีย์ มิลเลอร์]] ได้ทำการทดลองเพื่อพิสูจน์แนวคิดของ[[เอ ไอ โอพาริน]]ซึ่งมีข้อเสนอว่า "สิ่งมีชีวิตไม่สามารถเกิดได้ขึ้นเองในช่วงเวลาสั้นๆ เพียงขั้นตอนเดียว แต่ต้องใช้เวลานานมากโดยกระบวนการวิวัฒนาการทางเคมีอย่าง |
ในช่วง[[คริสต์ศตวรรษที่ 20]] เริ่มมีการทดลองสมมติฐานนี้โดย ในปี [[ค.ศ. 1953]] [[สแตนลีย์ มิลเลอร์]] ได้ทำการทดลองเพื่อพิสูจน์แนวคิดของ[[เอ ไอ โอพาริน]]ซึ่งมีข้อเสนอว่า "สิ่งมีชีวิตไม่สามารถเกิดได้ขึ้นเองในช่วงเวลาสั้นๆ เพียงขั้นตอนเดียว แต่ต้องใช้เวลานานมากโดยกระบวนการวิวัฒนาการทางเคมีอย่างช้า ๆ เป็นการสังเคราะห์สารอินทรีย์จากโมเลกุลง่าย ๆ เป็นโมเลกุลที่ซับซ้อน"<ref>[http://www.thaigoodview.com/library/contest2553/type2/science04/13/page/life_origin.html กำเนิดของชีวิต] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20130127023444/http://www.thaigoodview.com/library/contest2553/type2/science04/13/page/life_origin.html |date=2013-01-27 }} .โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล</ref> โดยมิลเลอร์นำขวดแก้วสองใบ ใบหนึ่งใส่น้ำเล็กน้อยเปรียบเสมือนมหาสมุทรในยุคดึกดำบรรพ์ อีกใบผสม[[แก๊สมีเทน]] [[แอมโมเนีย]] [[ไฮโดรเจนซัลไฟด์]] จำลองบรรยากาศโลกยุคดึกดำบรรพ์ นำสายยางเชื่อมต่อทั้งสองขวด แล้วใช้ไฟฟ้าเร่งปฏิกิริยา สิ่งที่ได้คือ[[สารอินทรีย์]]<ref>[http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=cryptomnesia&date=05-07-2009&group=10&gblog=28 กำเนิดสิ่งมีชีวิต (Origin of life)] .ในเว็บไซต์ Blog Gang</ref> ต่อมาในปี [[ค.ศ. 1957]] [[ซิดนีย์ ดับเบิลยู ฟอกซ์]] ทำการทดลองโดยเอากรดอมิโน (สารอินทรีย์) มาทำปฏิกิริยาเคมีรวมกัน ปรากฏว่า ได้สารตัวใหม่มีสภาพคล้ายโปรตีนในสัตว์ และในปี [[ค.ศ. 1961]] [[เมลวิน คาลวิน]] ทำการทดลองคล้ายการทดลองของ[[สแตนลีย์ มิลเลอร์]] แต่ใช้[[รังสีแกมมา]]ผ่านเข้าไปแทนกระแสไฟฟ้า ผลที่ได้เกิดสารประกอบทางเคมีหลายชนิดที่พบในสิ่งมีชีวิตปัจจุบันนอกจากนั้นยังได้สารประกอบที่ทำหน้าที่สะสมพลังงานในสิ่งมีชีวิตอีกด้วย คาลวินจึงสรุปความเห็นว่า "[[สารอินทรีย์]]และสิ่งมีชีวิต อาจเกิดจาก[[สารอนินทรีย์]]ได้ ถ้ามีพลังงานและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม"<ref>[http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/6/earth/index9.htm การทดลองสมมติฐานกำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20120829221553/http://www.rmutphysics.com/charud/specialnews/6/earth/index9.htm |date=2012-08-29 }} . ฟิสิกส์ราชมงคล</ref> |
||
==อ้างอิง== |
==อ้างอิง== |
รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 13:51, 31 พฤษภาคม 2567
กำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต (อังกฤษ: Abiogenesis) เป็นสมมติฐานเกี่ยวกับกระบวนการทางธรรมชาติเกี่ยวกับการกำเนิดของสิ่งมีชีวิตจากสิ่งไม่มีชีวิตบนโลก เช่น ปลาเกิดจากดินโคลนในแม่น้ำลำคลอง โดยสมมติฐานนี้ตั้งแต่สมัยอริสโตเติล[1] ซึ่งฟรานเซสโก เรดิ และหลุยส์ ปาสเตอร์ ได้พิสูจน์ว่าสิ่งมีชีวิตไม่สามารถเกิดจากสิ่งไม่มีชีวิต สมมติฐานจึงไม่เป็นที่ยอมรับ[2]
ประวัติ
[แก้]สมมติฐานกำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิตมีจุดเริ่มต้นจากสมมติฐานของนักปราชญ์หลายคน ได้แก่ ธาเลส, เซโนเฟน, อนาซากอรัส และอริสโตเติล ได้อธิบายไว้ว่าในทำนองเดียวกันว่า "ชีวิตเกิดจากสารอนินทรีย์"[3][4] โดยเฉพาะอริสโตเติลที่ได้สั่งสอนและตีพิมพ์ในหนังสือ "On the Original of Animals"[5] แต่สมมติฐานกลับถูกทิ้งไว้นาน จนในปี ค.ศ. 1955 บลูม ให้สมมติฐานกำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิตว่า "ชีวิตเริ่มแรกอาจเกิดขึ้นเองได้ แต่ปรากฏการณ์เช่นนี้จะเกิดขึ้นช่วงระยะสั้นมากเมื่อประมาณไม่น้อยกว่า 3 พันล้านปีมาแล้ว เนื่องจากในช่วงนั้นมีสภาวะที่อำนวยให้เกิดชีวิตจากสิ่งไม่มีชีวิตได้ เมือชีวิตเริ่มแรกเกิดขึ้นแล้วสภาพที่เหมาะสมที่จะอำนวยให้เกิดชีวิตนั้นเปลี่ยนไปไม่มีอีกต่อไป ชีวิตต่อ ๆ มาจึงเกิดมาจากวิวัฒนาการสืบทอดต่อกันมา ซึ่งไปสอดคล้องกับในปัจจุบันเป็นผลผลิตของชีวิตในอดีตโดยผ่านการคัดเลือกโดยธรรมชาติ"
การทดลอง
[แก้]ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เริ่มมีการทดลองสมมติฐานนี้โดย ในปี ค.ศ. 1953 สแตนลีย์ มิลเลอร์ ได้ทำการทดลองเพื่อพิสูจน์แนวคิดของเอ ไอ โอพารินซึ่งมีข้อเสนอว่า "สิ่งมีชีวิตไม่สามารถเกิดได้ขึ้นเองในช่วงเวลาสั้นๆ เพียงขั้นตอนเดียว แต่ต้องใช้เวลานานมากโดยกระบวนการวิวัฒนาการทางเคมีอย่างช้า ๆ เป็นการสังเคราะห์สารอินทรีย์จากโมเลกุลง่าย ๆ เป็นโมเลกุลที่ซับซ้อน"[6] โดยมิลเลอร์นำขวดแก้วสองใบ ใบหนึ่งใส่น้ำเล็กน้อยเปรียบเสมือนมหาสมุทรในยุคดึกดำบรรพ์ อีกใบผสมแก๊สมีเทน แอมโมเนีย ไฮโดรเจนซัลไฟด์ จำลองบรรยากาศโลกยุคดึกดำบรรพ์ นำสายยางเชื่อมต่อทั้งสองขวด แล้วใช้ไฟฟ้าเร่งปฏิกิริยา สิ่งที่ได้คือสารอินทรีย์[7] ต่อมาในปี ค.ศ. 1957 ซิดนีย์ ดับเบิลยู ฟอกซ์ ทำการทดลองโดยเอากรดอมิโน (สารอินทรีย์) มาทำปฏิกิริยาเคมีรวมกัน ปรากฏว่า ได้สารตัวใหม่มีสภาพคล้ายโปรตีนในสัตว์ และในปี ค.ศ. 1961 เมลวิน คาลวิน ทำการทดลองคล้ายการทดลองของสแตนลีย์ มิลเลอร์ แต่ใช้รังสีแกมมาผ่านเข้าไปแทนกระแสไฟฟ้า ผลที่ได้เกิดสารประกอบทางเคมีหลายชนิดที่พบในสิ่งมีชีวิตปัจจุบันนอกจากนั้นยังได้สารประกอบที่ทำหน้าที่สะสมพลังงานในสิ่งมีชีวิตอีกด้วย คาลวินจึงสรุปความเห็นว่า "สารอินทรีย์และสิ่งมีชีวิต อาจเกิดจากสารอนินทรีย์ได้ ถ้ามีพลังงานและสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม"[8]
อ้างอิง
[แก้]- ↑ แนวความคิดเกี่ยวกับการเกิดสิ่งมีชีวิต เก็บถาวร 2016-07-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน .คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์
- ↑ สรุปการกำเนิดสิ่งมีชีวิต เก็บถาวร 2012-10-04 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน .ก้าวทุกวินาที กับ... สหวิชา.com
- ↑ สิ่งมีชีวิตเกิดจากโคลนต เก็บถาวร 2012-08-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน .ฟิสิกส์ราชมงคล
- ↑ สรุปชีวิตเกิดจากองค์ประกอบของธาตุดิน น้ำ ลม ไฟ เก็บถาวร 2012-08-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน .ฟิสิกส์ราชมงคล
- ↑ กว่าจะเป็นชีวิต .อุทยานวิทยาศาสตร์พระจอมเกล้า ณ หว้ากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
- ↑ กำเนิดของชีวิต เก็บถาวร 2013-01-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน .โรงเรียนผักไหมวิทยานุกูล
- ↑ กำเนิดสิ่งมีชีวิต (Origin of life) .ในเว็บไซต์ Blog Gang
- ↑ การทดลองสมมติฐานกำเนิดชีวิตจากสิ่งไร้ชีวิต เก็บถาวร 2012-08-29 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน . ฟิสิกส์ราชมงคล