ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สาธารณรัฐสังคมอิตาลี"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
Narutzy (คุย | ส่วนร่วม)
 
(ไม่แสดง 32 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 17 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล อดีตประเทศ
{{กล่องข้อมูล อดีตประเทศ
| conventional_long_name = สาธารณรัฐสังคมนิยมอิตาลี
| conventional_long_name = สาธารณรัฐสังคมอิตาลี
| native_name = ''Repubblica Sociale Italiana''
| native_name = ''Repubblica Sociale Italiana''
| common_name = อิตาลี
| common_name = อิตาลี
บรรทัด 7: บรรทัด 7:
| country = อิตาลี
| country = อิตาลี
| status = รัฐบริวารของ[[นาซีเยอรมนี]]<ref>Renzo De Felice, ''Breve storia del fascismo'', Milano, Mondadori (Collana oscar storia), 2002, pp. 120-121</ref><ref name="Pauley p228">{{citation |last=Pauley |first=Bruce F. |year=2003 |title=Hitler, Stalin and Mussolini: Totalitarianism in the Twentieth Century Italy |location=Wheeling |publisher=Harlan Davidson |page=228 |edition=2nd |isbn=0-88295-993-X}}</ref>
| status = รัฐบริวารของ[[นาซีเยอรมนี]]<ref>Renzo De Felice, ''Breve storia del fascismo'', Milano, Mondadori (Collana oscar storia), 2002, pp. 120-121</ref><ref name="Pauley p228">{{citation |last=Pauley |first=Bruce F. |year=2003 |title=Hitler, Stalin and Mussolini: Totalitarianism in the Twentieth Century Italy |location=Wheeling |publisher=Harlan Davidson |page=228 |edition=2nd |isbn=0-88295-993-X}}</ref>
| p1 = ราชอาณาจักรอิตาลี
| p1 = ฟาสซิสต์อิตาลี (ค.ศ. 1922–1943)
| flag_p1 = Flag of Italy (1861-1946).svg
| flag_p1 = Flag of Italy (1861-1946) crowned.svg
| s1 = สาธารณรัฐอิตาลี
| s1 = ราชอาณาจักรอิตาลี
| flag_s1 = Flag of Italy.svg
| flag_s1 = Flag of Italy (1861-1946) crowned.svg
| national_motto = ''Per l'onore d'Italia''<br/><small>"For the honor of Italy"</small>
| national_motto = ''Per l'onore d'Italia''<br/><small>"For the honor of Italy"</small>
| national_anthem = ''[[Giovinezza]]''<ref>{{cite web |url=http://www.nationalanthems.info/it-gio.htm |title=Italy 1922-1943 |publisher=nationalanthems.info}}</ref><br/><small>"เยาวชน"</small>
| national_anthem = ''[[โจวีเนซซา]]''<ref>{{cite web |url=http://www.nationalanthems.info/it-gio.htm |title=Italy 1922-1943 |publisher=nationalanthems.info}}</ref><br/><small>"เยาวชน"</small><center>[[ไฟล์:Giovinezza.ogg]]
| image_flag = War flag of RSI.svg
| image_flag = Flag of Italy.svg
| flag = ธงชาติอิตาลี
| flag = ธงชาติอิตาลี
| flag_type = ธงศึก
| flag_type = ธงชาติ
| image_coat = Coat of Arms of the Italian Social Republic.svg
| image_coat = Coat of Arms of the Italian Social Republic.svg
| symbol = ตราแผ่นดินของอิตาลี
| symbol = ตราแผ่นดินของอิตาลี
| symbol_type = ตราแผ่นดิน
| symbol_type = ตราแผ่นดิน
| image_map = Italian_social_republic_map.png
| image_map = Italian_Social_Republic_within_Europe_1943.svg
| image_map_caption = ดินแดนของสาธารณรัฐสังคมนิยมอิตาลี (ค.ศ. 1943) แสดงด้วยสีเหลืองและเขียว พื้นที่สีเขียวทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นเขตปฏิบัติการทหารของเยอรมนีซึ่งอย่างเป็นทางการเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐสังคมนิยมอิตาลี ทว่า แท้จริงแล้วอยู่ภายใต้การปกครองโดยตรงของเยอรมนี
| image_map_caption = ดินแดนของสาธารณรัฐสังคมอิตาลี (ค.ศ. 1943) แสดงด้วยเขียวเข้มและเขียวอ่อน พื้นที่สีเขียวทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นเขตปฏิบัติการทหารของเยอรมนีซึ่งอย่างเป็นทางการเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐสังคมอิตาลี ทว่า แท้จริงแล้วอยู่ภายใต้การปกครองโดยตรงของเยอรมนี
| capital = [[โรม]] <small>([[โดยนิตินัย]])</small>; เมืองอื่น ๆ เช่น [[Salò|ซาโล]], [[เบรชชา]], [[Gargnano]], [[เวโรนา]], [[มิลาน]] (ที่ตั้งสำนักงานรัฐบาล กระทรวง และ หน่วยงานทหาร)
| capital = [[โรม]] <small>([[โดยนิตินัย]])</small>; เมืองอื่น ๆ เช่น [[ซาโล]], [[เบรชชา]], [[Gargnano]], [[เวโรนา]], [[มิลาน]] (ที่ตั้งสำนักงานรัฐบาล กระทรวง และ หน่วยงานทหาร)
| common_languages = ภาษาอิตาลี
| common_languages = [[ภาษาอิตาลี]]
| religion = [[นิกายโรมันคาทอลิก]]
| religion = [[นิกายโรมันคาทอลิก]]
| government_type = [[สาธารณรัฐ]][[ลัทธิฟาสซิสต์อิตาลี|ฟาสซิสต์]][[พรรคการเมืองเดียว]]
| government_type = [[ลัทธิฟาสซิสต์อิตาลี|ลัทธิฟาสซิสต์]] [[รัฐพรรคการเมืองเดียว]] [[สาธารณรัฐ]]
| title_leader = [[อิลดูเช|ดูเช]]
| title_leader = [[อิลดูเช|ดูเช]]
| leader1 = [[เบนีโต มุสโสลีนี]]
| leader1 = [[เบนีโต มุสโสลีนี]]
| year_leader1 = 1943&ndash;1945
| year_leader1 = 1943-1945
| title_representative = [[ผู้มีอำนาจเต็ม]]
| title_representative = [[ผู้มีอำนาจเต็ม]]
| representative1 = [[Rudolf Rahn]]
| representative1 = [[Rudolf Rahn]]
| year_representative1 = 1943&ndash;1945
| year_representative1 = 1943-1945
| era = [[สงครามโลกครั้งที่สอง]]
| era = [[สงครามโลกครั้งที่สอง]], [[สงครามกลางเมืองอิตาลี]]
| event_pre = [[Gran Sasso raid]]
| event_pre = [[Gran Sasso raid]]
| date_pre = 12 กันยายน ค.ศ. 1943
| date_pre = 12 กันยายน ค.ศ. 1943
บรรทัด 43: บรรทัด 43:
}}
}}


'''สาธารณรัฐสังคมอิตาลี''' ({{lang-it|Repubblica Sociale Italiana, '''RSI'''}}) เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายและในประวัติศาสตร์คือ '''สาธารณรัฐซาโล''' ({{lang-it|Repubblica di Salò}} {{IPA-it|reˈpubblika di saˈlɔ|}}) เป็น[[รัฐหุ่นเชิด]]ของ[[นาซีเยอรมนี|เยอรมัน]]ด้วยการรับรองที่จำกัดซึ่งถูกสร้างขึ้นในช่วงปลาย[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] ได้ดำรงอยู่นับตั้งแต่เริ่มต้นด้วยเยอรมันเข้ายึดครองอิตาลีในเดือนกันยายน ค.ศ. 1943 จนกระทั่งการยอมจำนนของกองทัพเยอรมันในอิตาลีในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1945
'''สาธารณรัฐสังคมนิยมอิตาลี''' ({{lang-it|Repubblica Sociale Italiana, '''RSI'''}}) เป็น[[รัฐหุ่นเชิด]]ของนาซีเยอรมนีระหว่างช่วงหลังของ[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] เป็นการเกิดใหม่ของรัฐฟาสซิสต์อิตาลี นำโดย ดูเช[[เบนิโต มุสโสลินี]]และพรรคฟาสซิสต์สาธารณรัฐนิยมปฏิรูปของเขา รัฐดังกล่าวประกาศว่ากรุง[[โรม]]เป็นเมืองหลวง แต่เนื่องจากโรมไม่อยู่ภายใต้การควบคุม โดยพฤตินัยจึงกระจุกอยู่รอบซาโล อันเป็นสำนักงานใหญ่ของมุสโสลินีและกระทรวงการต่างประเทศ สาธารณรัฐสังคมนิยมอิตาลีมีอำนาจอธิปไตยในนามในทางเหนือของอิตาลี แต่ต้องพึ่งพาทหารเยอรมันเพื่อรักษาการควบคุมเป็นส่วนใหญ่


สาธารณรัฐสังคมอิตาลีเป็นประเทศที่ถือกำเนิดเป็นครั้งที่สองและครั้งสุดท้ายของรัฐฟาสซิสต์อิตาลีและภายใต้การนำของดูเช [[เบนิโต มุสโสลินี]] และพรรคฟาสซิสต์รีพับลิกันของเขาได้หันไปเป็น[[การเลิกล้มราชาธิปไตย|ผู้ต่อต้านระบอบราชาธิปไตย]] ซึ่งได้พยายามที่จะปรับปรุงแก้ไขและให้ทันสมัยของหลักคำสอนลัทธิฟาสซิสต์ในแนวทางที่เป็นกลางและซับซ้อนมากขึ้น รัฐได้ประกาศว่า[[โรม|กรุงโรม]]เป็นเมืองหลวงแต่ในทางพฤตินัย ซึ่งตั้งอยู่ที่[[ซาโล]] (ดังนั้นจึงเป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการ) เมืองขนาดเล็กบน[[ทะเลสาบการ์ดา]] ใกล้กับ[[เบรชชา]] ที่มุสโสลินีและกระทรวงการต่างประเทศได้ตั้งสำนักงานใหญ่ที่นั้น สาธารณรัฐสังคมอิตาลีมีอำนาจอธิปไตยในนามในทางภาคเหนือและกลางของอิตาลี แต่ต้องพึ่งพาทหารเยอรมันเพื่อรักษาการควบคุมเป็นส่วนใหญ่
== ดูเพิ่ม ==

* [[กองทัพบกสาธารณรัฐแห่งชาติ]]
ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1943 ภายหลังจาก[[ฝ่ายสัมพันธมิตรในสงครามโลกครั้งที่สอง|ฝ่ายสัมพันธมิตร]]ได้ผลักดันอิตาลีออกจาก[[แอฟริกาเหนือ]]และจากนั้นก็[[การบุกครองเกาะซิซิลีของฝ่ายสัมพันธมิตร|บุกครองเกาะซิซิลี]] สภาใหญ่ฟาสซิสต์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนโดย[[พระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 แห่งอิตาลี|พระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3]] ได้รับสั่งให้ทำการล้มล้างและจับกุมมุสโสลินี รัฐบาลใหม่ได้เริ่มทำการเจรจาสันติภาพอย่างลับๆกับฝ่ายสัมพันธมิตร เมื่อการสงบศึกที่แคสซิเบียได้ถูกประกาศ เมื่อวันที่ 8 กันยายน เยอรมนีได้เตรียมความพร้อมและเข้าแทรกแซงอย่างรวดเร็ว เยอรมนีได้เข้ายึดครองควบคุมทางตอนเหนือครึ่งหนึ่งของอิตาลี ได้ปลดปล่อยมุสโสลินีออกจากที่คุมขังและพาเขาไปยังพื้นที่ที่เยอรมันยึดครองเพื่อจัดตั้งระบอบประเทศรัฐบริวาร สาธารณรัฐสังคมอิตาลีได้ถูกประกาศขึ้น เมื่อวันที่ 23 กันยายน ค.ศ. 1943<ref name="Pauley p228" /><ref>{{cite book |title=''欧州の国際関係 : 1919-1946 : フランス外交の視角から'' |author=大井孝 |page=943 |language=ja|publisher=たちばな出版 |date=September 2008 |isbn=9784813321811}}</ref> แม้ว่าสาธารณรัฐสังคมอิตาลีได้กล่าวอ้างว่าดินแดนส่วนใหญ่ของอิตาลีเป็นสิทธิ์อันชอบธรรม มันได้ควบคุมทางการเมืองในส่วนที่เหลือน้อยอย่างมากของอิตาลี<ref name="Susan Zuccotti 1996. P. 148">Dr Susan Zuccotti, Furio Colombo. The ''Italians and the Holocaust: Persecution, Rescue, and Survival''. University of Nebraska Press paperback edition. University of Nebraska Press, 1996. P. 148.</ref> สาธารณรัฐสังคมอิตาลีได้รับรองทางการทูตจากเยอรมนี ญี่ปุ่น และรัฐหุ่นเชิดของพวกเขาเท่านั้น

เมื่อประมาณวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1945 สาธารณรัฐฟาสซิสต์ของมุสโสลินีได้[[การทัพอิตาลี (สงครามโลกครั้งที่สอง)|ล่มสลาย]]ลง ในอิตาลี, วันนั้นได้เป็นที่รู้จักกันคือ [[วันปลดปล่อย (อิตาลี)|วันปลดปล่อย]] (<nowiki>''festa della liberazione''</nowiki>) ซึ่งวันนั้นเป็นการก่อการกำเริบของพลพรรคทั่วไป พร้อมกับความพยายามของกองกำลังฝ่ายสัมพันธมิตรในช่วงการรุกอิตาลีครั้งสุดท้ายของพวกเขา ได้จัดการขับไล่เยอรมันออกไปจากอิตาลีเกือบทั้งหมด เมื่อถึงจุดสิ้นสุด สาธารณรัฐสังคมอิตาลีได้ดำรงอยู่นานกว่าเก้าเดือนเศษ เมื่อวันที่ 27 เมษายน พลพรรคได้จับกุมมุสโสลินี อนุภรรยาของเขา ([[คลาล่า แปตะชิ]]) รัฐมนตรีของสาธารณรัฐสังคมอิตาลีและฟาสซิสต์อิตาลีคนอื่นๆอีกหลายคน ในขณะที่พวกเขาได้พยายามหลบหนี เมื่อวันที่ 28 เมษายน พลพรรคได้ประหารชีวิตแก่มุสโสลินีและนักโทษคนอื่นๆจำนวนมาก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม [[โรดอลโฟ กราซีอานี]] ได้ยอมจำนนในส่วนที่เหลืออยู่ของสาธารณรัฐสังคมอิตาลี หนึ่งวันก่อนที่กองทัพเยอรมันในอิตาลีจะยอมจำนน-นี้ถือว่าเป็นจุดสิ้นสุดของสาธารณรัฐสังคมอิตาลี


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
บรรทัด 55: บรรทัด 58:
* Gat, Moshe. "The Soviet Factor in British Policy towards Italy, 1943-1945," ''Historian'' (1988) 50#4 pp 535–557
* Gat, Moshe. "The Soviet Factor in British Policy towards Italy, 1943-1945," ''Historian'' (1988) 50#4 pp 535–557
* Knox, MacGregor. ''Common Destiny: Dictatorship, Foreign Policy, and War in Fascist Italy and Nazi Germany'' (2000)
* Knox, MacGregor. ''Common Destiny: Dictatorship, Foreign Policy, and War in Fascist Italy and Nazi Germany'' (2000)
* Maximiano, Cesar. with Bonalume, Ricardo N. & Bujeiro, Ramiro. [http://books.google.com.br/books?id=L6HVtOSmWAEC&printsec=frontcover&dq=Brazilian+Expeditionary+Force+WWII&hl=pt-BR&sa=X&ei=kgVwUslnwaaRB7_hgaAB&ved=0CDEQ6AEwAA#v=onepage&q=Brazilian%20Expeditionary%20Force%20WWII&f=false ''Brazilian Expeditionary Force in World War II'']. [[Osprey Publishing|Osprey Publishing Ltd.]], 2011. ISBN 9781849084833 (Print version).
* Maximiano, Cesar. with Bonalume, Ricardo N. & Bujeiro, Ramiro. [http://books.google.com.br/books?id=L6HVtOSmWAEC&printsec=frontcover&dq=Brazilian+Expeditionary+Force+WWII&hl=pt-BR&sa=X&ei=kgVwUslnwaaRB7_hgaAB&ved=0CDEQ6AEwAA#v=onepage&q=Brazilian%20Expeditionary%20Force%20WWII&f=false ''Brazilian Expeditionary Force in World War II'']{{ลิงก์เสีย|date=กุมภาพันธ์ 2023 |bot=InternetArchiveBot |fix-attempted=yes }}. [[Osprey Publishing|Osprey Publishing Ltd.]], 2011. {{ISBN|9781849084833}} (Print version).
* Morgan, Philip. ''The Fall of Mussolini: Italy, the Italians, and the Second World War'' (2007)
* Morgan, Philip. ''The Fall of Mussolini: Italy, the Italians, and the Second World War'' (2007)
* Moseley, Ray. ''Mussolini: The Last 600 Days of Il Duce'' (2004)
* Moseley, Ray. ''Mussolini: The Last 600 Days of Il Duce'' (2004)
* Smith, D. Mack. ''Modern Italy: A Political History'' (1997) [http://www.questia.com/read/7696309?title=Italy%3a%20A%20Modern%20History online]
* Smith, D. Mack. ''Modern Italy: A Political History'' (1997) [http://www.questia.com/read/7696309?title=Italy%3a%20A%20Modern%20History online] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20110605071233/http://www.questia.com/read/7696309?title=Italy:%20A%20Modern%20History |date=2011-06-05 }}
*{{cite book|title=[[The Rise and Fall of the Third Reich]]|last=Shirer|first=William|authorlink=William L. Shirer|year=1960|publisher=[[Simon & Schuster]]|location=[[New York City]]|isbn=0-671-72868-7}}


== แหล่งข้อมูลอื่น ==
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
{{Commons category|Repubblica Sociale Italiana}}
{{Commons category|Repubblica Sociale Italiana}}
*[http://www1.yadvashem.org/yv/en/holocaust/insights/video/fascist_italy1.asp?WT.mc_id=wiki Fascist Italy and the Jews: Myth versus Reality] an online lecture by Dr. Iael Nidam-Orvieto of [[Yad Vashem]]
*[http://www1.yadvashem.org/yv/en/holocaust/insights/video/fascist_italy1.asp?WT.mc_id=wiki Fascist Italy and the Jews: Myth versus Reality] {{Webarchive|url=https://web.archive.org/web/20151005103649/http://www1.yadvashem.org/yv/en/holocaust/insights/video/fascist_italy1.asp?WT.mc_id=wiki |date=2015-10-05 }} an online lecture by Dr. Iael Nidam-Orvieto of [[Yad Vashem]]
* [http://www.axishistory.com/index.php?id=37 Axis History Factbook - Italy]{{dead link|date=April 2014}}
* {{Cite web |url=http://www.axishistory.com/index.php?id=37 |title=Axis History Factbook - Italy |archive-url=https://web.archive.org/web/20130620203451/http://www.axishistory.com/index.php?id=37 |archive-date=2013-06-20 |access-date=2014-07-17 |url-status=bot: unknown }}
* [http://www.comandosupremo.com/ Comando Supremo]
* [http://www.comandosupremo.com/ Comando Supremo]
* [http://flagspot.net/flags/it_index.html Historical flags of Italy]
* [http://flagspot.net/flags/it_index.html Historical flags of Italy]
บรรทัด 76: บรรทัด 80:
}}
}}


[[หมวดหมู่:สาธารณรัฐสังคมอิตาลี| ]]
[[หมวดหมู่:ประเทศอิตาลีในปี พ.ศ. 2486]]
[[หมวดหมู่:ประเทศอิตาลีในปี พ.ศ. 2486]]
[[หมวดหมู่:ประเทศอิตาลีในปี พ.ศ. 2487]]
[[หมวดหมู่:ประเทศอิตาลีในปี พ.ศ. 2487]]
[[หมวดหมู่:ประเทศอิตาลีในปี พ.ศ. 2488]]
[[หมวดหมู่:ประเทศอิตาลีในปี พ.ศ. 2488]]
[[หมวดหมู่:รัฐฟาสซิสต์|อ]]
[[หมวดหมู่:รัฐบริวารของนาซีเยอรมนี]]
[[หมวดหมู่:รัฐบริวารของนาซีเยอรมนี]]
[[หมวดหมู่:อดีตประเทศบนคาบสมุทรอิตาลี]]
[[หมวดหมู่:อดีตประเทศบนคาบสมุทรอิตาลี]]
[[หมวดหมู่:อดีตสาธารณรัฐ]]
[[หมวดหมู่:อดีตสาธารณรัฐ|อ]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์อิตาลี]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์อิตาลี]]
[[หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศอิตาลี|สาธารณรัฐสังคมนิยม]]
[[หมวดหมู่:รัฐสิ้นสภาพในประเทศอิตาลี|สาธารณรัฐสังคม]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ทางหารของอิตาลีในสงครามโลกครั้งที่ 2]]
[[หมวดหมู่:ประวัติศาสตร์ทางหารของอิตาลีในสงครามโลกครั้งที่ 2]]
[[หมวดหมู่:ลัทธิฟาสซิสต์อิตาลี]]
[[หมวดหมู่:ลัทธิฟาสซิสต์อิตาลี]]
[[หมวดหมู่:รัฐพรรคการเมืองเดียว]]
[[หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2486]]
[[หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่ก่อตั้งในปี พ.ศ. 2486]]
[[หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2488]]
[[หมวดหมู่:รัฐและดินแดนที่สิ้นสุดในปี พ.ศ. 2488]]
[[หมวดหมู่:สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศอิตาลี]]
[[หมวดหมู่:สงครามโลกครั้งที่สองในประเทศอิตาลี]]
[[หมวดหมู่:การล่มสลายของจักรวรรดิอิตาลี]]
{{โครงประวัติศาสตร์}}
{{โครงทวีปยุโรป}}

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 14:54, 16 กันยายน 2566

สาธารณรัฐสังคมอิตาลี

Repubblica Sociale Italiana
1943–1945
คำขวัญPer l'onore d'Italia
"For the honor of Italy"
ดินแดนของสาธารณรัฐสังคมอิตาลี (ค.ศ. 1943) แสดงด้วยเขียวเข้มและเขียวอ่อน พื้นที่สีเขียวทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นเขตปฏิบัติการทหารของเยอรมนีซึ่งอย่างเป็นทางการเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐสังคมอิตาลี ทว่า แท้จริงแล้วอยู่ภายใต้การปกครองโดยตรงของเยอรมนี
ดินแดนของสาธารณรัฐสังคมอิตาลี (ค.ศ. 1943) แสดงด้วยเขียวเข้มและเขียวอ่อน พื้นที่สีเขียวทางตะวันออกเฉียงเหนือเป็นเขตปฏิบัติการทหารของเยอรมนีซึ่งอย่างเป็นทางการเป็นส่วนหนึ่งของสาธารณรัฐสังคมอิตาลี ทว่า แท้จริงแล้วอยู่ภายใต้การปกครองโดยตรงของเยอรมนี
สถานะรัฐบริวารของนาซีเยอรมนี[2][3]
เมืองหลวงโรม (โดยนิตินัย); เมืองอื่น ๆ เช่น ซาโล, เบรชชา, Gargnano, เวโรนา, มิลาน (ที่ตั้งสำนักงานรัฐบาล กระทรวง และ หน่วยงานทหาร)
ภาษาทั่วไปภาษาอิตาลี
ศาสนา
นิกายโรมันคาทอลิก
การปกครองลัทธิฟาสซิสต์ รัฐพรรคการเมืองเดียว สาธารณรัฐ
ดูเช 
• 1943-1945
เบนีโต มุสโสลีนี
ผู้มีอำนาจเต็ม 
• 1943-1945
Rudolf Rahn
ยุคประวัติศาสตร์สงครามโลกครั้งที่สอง, สงครามกลางเมืองอิตาลี
12 กันยายน ค.ศ. 1943
23 กันยายน 1943
25 เมษายน 1945
สกุลเงินลีราอิตาลี
ก่อนหน้า
ถัดไป
ฟาสซิสต์อิตาลี (ค.ศ. 1922–1943)
ราชอาณาจักรอิตาลี

สาธารณรัฐสังคมอิตาลี (อิตาลี: Repubblica Sociale Italiana, RSI) เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายและในประวัติศาสตร์คือ สาธารณรัฐซาโล (อิตาลี: Repubblica di Salò [reˈpubblika di saˈlɔ]) เป็นรัฐหุ่นเชิดของเยอรมันด้วยการรับรองที่จำกัดซึ่งถูกสร้างขึ้นในช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่สอง ได้ดำรงอยู่นับตั้งแต่เริ่มต้นด้วยเยอรมันเข้ายึดครองอิตาลีในเดือนกันยายน ค.ศ. 1943 จนกระทั่งการยอมจำนนของกองทัพเยอรมันในอิตาลีในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1945

สาธารณรัฐสังคมอิตาลีเป็นประเทศที่ถือกำเนิดเป็นครั้งที่สองและครั้งสุดท้ายของรัฐฟาสซิสต์อิตาลีและภายใต้การนำของดูเช เบนิโต มุสโสลินี และพรรคฟาสซิสต์รีพับลิกันของเขาได้หันไปเป็นผู้ต่อต้านระบอบราชาธิปไตย ซึ่งได้พยายามที่จะปรับปรุงแก้ไขและให้ทันสมัยของหลักคำสอนลัทธิฟาสซิสต์ในแนวทางที่เป็นกลางและซับซ้อนมากขึ้น รัฐได้ประกาศว่ากรุงโรมเป็นเมืองหลวงแต่ในทางพฤตินัย ซึ่งตั้งอยู่ที่ซาโล (ดังนั้นจึงเป็นชื่ออย่างไม่เป็นทางการ) เมืองขนาดเล็กบนทะเลสาบการ์ดา ใกล้กับเบรชชา ที่มุสโสลินีและกระทรวงการต่างประเทศได้ตั้งสำนักงานใหญ่ที่นั้น สาธารณรัฐสังคมอิตาลีมีอำนาจอธิปไตยในนามในทางภาคเหนือและกลางของอิตาลี แต่ต้องพึ่งพาทหารเยอรมันเพื่อรักษาการควบคุมเป็นส่วนใหญ่

ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1943 ภายหลังจากฝ่ายสัมพันธมิตรได้ผลักดันอิตาลีออกจากแอฟริกาเหนือและจากนั้นก็บุกครองเกาะซิซิลี สภาใหญ่ฟาสซิสต์ ซึ่งได้รับการสนับสนุนโดยพระเจ้าวิตโตรีโอ เอมานูเอเลที่ 3 ได้รับสั่งให้ทำการล้มล้างและจับกุมมุสโสลินี รัฐบาลใหม่ได้เริ่มทำการเจรจาสันติภาพอย่างลับๆกับฝ่ายสัมพันธมิตร เมื่อการสงบศึกที่แคสซิเบียได้ถูกประกาศ เมื่อวันที่ 8 กันยายน เยอรมนีได้เตรียมความพร้อมและเข้าแทรกแซงอย่างรวดเร็ว เยอรมนีได้เข้ายึดครองควบคุมทางตอนเหนือครึ่งหนึ่งของอิตาลี ได้ปลดปล่อยมุสโสลินีออกจากที่คุมขังและพาเขาไปยังพื้นที่ที่เยอรมันยึดครองเพื่อจัดตั้งระบอบประเทศรัฐบริวาร สาธารณรัฐสังคมอิตาลีได้ถูกประกาศขึ้น เมื่อวันที่ 23 กันยายน ค.ศ. 1943[3][4] แม้ว่าสาธารณรัฐสังคมอิตาลีได้กล่าวอ้างว่าดินแดนส่วนใหญ่ของอิตาลีเป็นสิทธิ์อันชอบธรรม มันได้ควบคุมทางการเมืองในส่วนที่เหลือน้อยอย่างมากของอิตาลี[5] สาธารณรัฐสังคมอิตาลีได้รับรองทางการทูตจากเยอรมนี ญี่ปุ่น และรัฐหุ่นเชิดของพวกเขาเท่านั้น

เมื่อประมาณวันที่ 25 เมษายน ค.ศ. 1945 สาธารณรัฐฟาสซิสต์ของมุสโสลินีได้ล่มสลายลง ในอิตาลี, วันนั้นได้เป็นที่รู้จักกันคือ วันปลดปล่อย (''festa della liberazione'') ซึ่งวันนั้นเป็นการก่อการกำเริบของพลพรรคทั่วไป พร้อมกับความพยายามของกองกำลังฝ่ายสัมพันธมิตรในช่วงการรุกอิตาลีครั้งสุดท้ายของพวกเขา ได้จัดการขับไล่เยอรมันออกไปจากอิตาลีเกือบทั้งหมด เมื่อถึงจุดสิ้นสุด สาธารณรัฐสังคมอิตาลีได้ดำรงอยู่นานกว่าเก้าเดือนเศษ เมื่อวันที่ 27 เมษายน พลพรรคได้จับกุมมุสโสลินี อนุภรรยาของเขา (คลาล่า แปตะชิ) รัฐมนตรีของสาธารณรัฐสังคมอิตาลีและฟาสซิสต์อิตาลีคนอื่นๆอีกหลายคน ในขณะที่พวกเขาได้พยายามหลบหนี เมื่อวันที่ 28 เมษายน พลพรรคได้ประหารชีวิตแก่มุสโสลินีและนักโทษคนอื่นๆจำนวนมาก รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม โรดอลโฟ กราซีอานี ได้ยอมจำนนในส่วนที่เหลืออยู่ของสาธารณรัฐสังคมอิตาลี หนึ่งวันก่อนที่กองทัพเยอรมันในอิตาลีจะยอมจำนน-นี้ถือว่าเป็นจุดสิ้นสุดของสาธารณรัฐสังคมอิตาลี

อ้างอิง

[แก้]
  1. "Italy 1922-1943". nationalanthems.info.
  2. Renzo De Felice, Breve storia del fascismo, Milano, Mondadori (Collana oscar storia), 2002, pp. 120-121
  3. 3.0 3.1 Pauley, Bruce F. (2003), Hitler, Stalin and Mussolini: Totalitarianism in the Twentieth Century Italy (2nd ed.), Wheeling: Harlan Davidson, p. 228, ISBN 0-88295-993-X
  4. 大井孝 (September 2008). 欧州の国際関係 : 1919-1946 : フランス外交の視角から (ภาษาญี่ปุ่น). たちばな出版. p. 943. ISBN 9784813321811.
  5. Dr Susan Zuccotti, Furio Colombo. The Italians and the Holocaust: Persecution, Rescue, and Survival. University of Nebraska Press paperback edition. University of Nebraska Press, 1996. P. 148.

หนังสืออ่านเพิ่มเติม

[แก้]

แหล่งข้อมูลอื่น

[แก้]