ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เซนต์"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: ผู้ใช้ใหม่เพิ่มลิงก์ไปยังเว็บอื่น
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 9703601 โดย InternetArchiveBot (พูดคุย) ด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
 
(ไม่แสดง 19 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 10 คน)
บรรทัด 1: บรรทัด 1:
[[ไฟล์:All-Saints.jpg|thumb|300px|right|ภาพ "[[นักบุญทั้งหลาย]]" วาดโดย[[ฟราอันเจลีโก]]]]
[[ไฟล์:All-Saints.jpg|thumb|300px|right|ภาพ "[[นักบุญทั้งหลาย]]" วาดโดย[[ฟราอันเจลีโก]]]]
'''เซนต์''' ({{lang-en|saint}}) ชาว[[คาทอลิก]]เรียกว่า'''นักบุญ''' หรือ'''ผู้บริสุทธิ์''' ชาว[[โปรเตสแตนต์]]เรียกว่า'''ธรรมิกชน'''<ref>[http://www.thaianglican.org/bible.php?action=chapter&bk_id=49 เอเฟซัส 1:18]</ref> ใช้หมายถึงผู้ศักดิ์สิทธิ์<ref name="Wycliffe">''Wycliffe Bible Encyclopedia'', "saint", ISBN 0-8024-9697-0, "Christians in general are 'saints' in NT usage, and the term is common in reference to the inclusive membership of a local church . . . Other references in the NT equate Christians in general with 'saints' . . . All these are identified as saints because they are in Christ Jesus."</ref> ใน[[คริสต์ศาสนา]]แต่ละนิกายอธิบายลักษณะของเซนต์แตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะถือตาม[[คัมภีร์ไบเบิล]]ที่ระบุว่าเซนต์หมายถึงบุคคลใด ๆ ไม่ว่าบนโลกมนุษย์หรือบน[[สวรรค์]] ที่มีชีวิตอยู่ใน[[พระคริสต์]] และเป็นผู้ที่พระคริสต์ทรงประทับอยู่<ref>[http://www.thaianglican.org/bible.php?action=chapter&bk_id=47&ct_id=270 2 โครินธ์ 5:17]</ref><ref>[http://www.thaianglican.org/bible.php?action=chapter&bk_id=47&ct_id=294 2 โครินธ์ 13:5]</ref> ใน[[คริสตจักร]][[ออร์ทอดอกซ์]]และ[[โรมันคาทอลิก]]ถือว่า[[คริสต์ศาสนิกชน]]ทั้งหมดที่อยู่บนสวรรค์เป็นนักบุญ แต่แต่ละองค์จะได้รับเกียรติ ถูกยึดถือเป็นแบบอย่าง และรับความเคารพไม่เท่ากัน
'''เซนต์''' ({{lang-en|Saint}}) ชาว[[คาทอลิก]]และชาว[[ออร์ทอดอกซ์]] เรียกว่า'''นักบุญ''' หมายถึง '''ผู้ศักดิ์สิทธิ์'''<ref name="Wycliffe">''Wycliffe Bible Encyclopedia'', "saint", ISBN 0-8024-9697-0, "Christians in general are 'saints' in NT usage, and the term is common in reference to the inclusive membership of a local church . . . Other references in the NT equate Christians in general with 'saints' . . . All these are identified as saints because they are in Christ Jesus."</ref> ชาว[[โปรเตสแตนต์]]เรียกว่า'''ธรรมิกชน'''หรือ'''ผู้บริสุทธิ์'''<ref>[http://www.bible.is/THATSV/Eph/1/18 เอเฟซัส 1:18]</ref> แต่ละ[[นิกายในศาสนาคริสต์]]อธิบายลักษณะของเซนต์แตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะถือตาม[[คัมภีร์ไบเบิล]]ที่ระบุว่าเซนต์หมายถึงบุคคลใด ๆ ไม่ว่าบนโลกมนุษย์หรือบน[[สวรรค์]] ที่ได้รับ[[การชำระให้บริสุทธิ์]] มีชีวิตอยู่ใน[[พระคริสต์]] และเป็นผู้ที่พระคริสต์ทรงประทับอยู่<ref>{{Cite web |url=http://www.thaianglican.org/bible.php?action=chapter&bk_id=47&ct_id=270 |title=2 โครินธ์ 5:17 |access-date=2011-12-12 |archive-date=2016-03-04 |archive-url=https://web.archive.org/web/20160304175820/http://thaianglican.org/bible.php?action=chapter&bk_id=47&ct_id=270 |url-status=dead }}</ref><ref>{{Cite web |url=http://www.thaianglican.org/bible.php?action=chapter&bk_id=47&ct_id=294 |title=2 โครินธ์ 13:5 |access-date=2011-12-12 |archive-date=2016-03-05 |archive-url=https://web.archive.org/web/20160305122600/http://thaianglican.org/bible.php?action=chapter&bk_id=47&ct_id=294 |url-status=dead }}</ref> เป็นผู้ที่พระเจ้าทรงแยกไว้ต่างหากเพื่อเป็นชนชาติที่บริสุทธิ์ของพระองค์<ref>2 โครินธ์ 1:1, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref><ref>ฟีลิปปี 1:1, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011</ref> ใน[[คริสตจักร]][[อีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์]]และ[[โรมันคาทอลิก]]ถือว่า[[คริสต์ศาสนิกชน]]ทั้งหมดที่อยู่บนสวรรค์เป็นนักบุญ แต่แต่ละองค์จะได้รับเกียรติ ถูกยึดถือเป็นแบบอย่าง และรับความเคารพไม่เท่ากัน


ในคัมภีร์ไบเบิล มีการกล่าวถึงเซนต์อย่างชัดเจนเพียงคนเดียวว่า “เมื่อคนในค่ายริษยา[[โมเสส]] และ[[อาโรน]] คนบริสุทธิ์ของพระเจ้า” <ref>[http://www.thaianglican.org/bible.php?action=chapter&bk_id=19&ct_id=760 สดุดี 106:16]</ref> ส่วนใน[[พระธรรมเอเฟซัส]][[เปาโลอัครทูต]]ประกาศว่าตนเองเป็น “คนเล็กน้อยกว่าคนเล็กน้อยที่สุดในพวกธรรมิกชนทั้งหมด”<ref>[http://www.thaianglican.org/bible.php?action=chapter&bk_id=49&ct_id=251 เอเฟซัส 3:8]</ref>
ในคัมภีร์ไบเบิล มีหลายคนถูกเรียกว่าเป็นเซนต์ เช่น [[อาโรน]] ซึ่งถูกเรียกว่าเป็นคนบริสุทธิ์ของ[[พระยาห์เวห์]]<ref>[http://www.bible.is/THATSV/Ps/106/16 สดุดี 106:16]</ref> ส่วนใน[[จดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวเอเฟซัส]] [[เปาโลอัครทูต]]ก็ประกาศว่าตนเองเป็น “คนเล็กน้อยยิ่งกว่าคนเล็กน้อยที่สุดในพวกธรรมิกชนทั้งหมด”<ref>[http://www.bible.is/THATSV/Eph/3/8 เอเฟซัส 3:8]</ref>

ในปัจจุบันคำว่า "เซนต์" ยังอาจใช้หมายถึงผู้ศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาอื่น ๆ ด้วย เช่น [[ซาดิค]]ใน[[ศาสนายูดาห์]] พระ[[อริยบุคคล]]ใน[[ศาสนาพุทธ]] [[ฤๅษี]]หรือ[[คุรุ]]ใน[[ศาสนาฮินดู]] [[วะลีย์]]ใน[[ศาสนาอิสลาม]] เป็นต้น


== คริสตจักรโรมันคาทอลิก ==
== คริสตจักรโรมันคาทอลิก ==
ใน[[คริสตจักร]][[โรมันคาทอลิก]] นักบุญหมายถึงบุคคลที่เมื่อตายแล้วได้ไปเกิดในสวรรค์ กรณีที่บุคคลนั้นมีความดีโดดเด่น ในการปฏิบัติตามพระทัยพระเจ้า คริสตจักรจะยกย่องบุคคลนั้นเป็นพิเศษเพื่อเป็นแบบอย่างและกำลังใจแต่คริสตชนอื่น ๆ <ref>โรแบร์ โกสเต, บาทหลวง, ''คำสอนคริสตชน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, 2550, หน้า 194</ref>
ใน[[คริสตจักร]][[โรมันคาทอลิก]] นักบุญหมายถึงบุคคลที่ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการโดยพระศาสนจักร ซึ่งมีความเชื่อว่าบุคคลเหล่านั้นได้อยู่ในสวรรค์แล้ว โดยความหมายนี้ทุกคนที่อยู่ในสวรรค์ก็คือนักบุญถึงแม้ว่าจะไม่ได้รับการประกาศอย่างเป็นทางการ บุคคลที่พระศาสนจักรได้ประการให้เป็นนักบุญนั้นมีความดีโดดเด่น ในการปฏิบัติตามน้ำพระทัยพระเป็นเจ้า คริสตจักรจะยกย่องบุคคลนั้นเป็นพิเศษเพื่อเป็นแบบอย่างและกำลังใจแต่คริสตชนอื่น ๆ<ref>โรแบร์ โกสเต, บาทหลวง, ''คำสอนคริสตชน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, 2550, หน้า 194</ref>


ตามกระบวน[[การประกาศเป็นนักบุญ]] (canonization) ในคริสตจักรคาทอลิก จะมีการสอบสวนและให้พระสันตะปาปาประกาศสถาปนาเป็นลำดับขั้นดังนี้
ตามกระบวน[[การประกาศเป็นนักบุญ]] (canonization) ในคริสตจักรคาทอลิก จะมีการสอบสวนและให้พระสันตะปาปาประกาศสถาปนาเป็นลำดับขั้นดังนี้
#[[ผู้รับใช้พระเจ้า]] (The Servant of God)
#[[ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า]] (The Servant of God)
#[[ผู้น่าเคารพ]] (The Venerable)
#[[ผู้น่าเคารพ]] (The Venerable)
#[[บุญราศี]] (The Blessed) หลังจากที่ได้รับการประกาศให้เป็น "ผู้น่าเคารพ" หรือ "คารวียะ" แล้ว ก็จะมีการดำเนินการเพื่อให้บุคคลนั้นได้รับ[[การประกาศเป็นบุญราศี]] แต่ก่อนที่จะได้รับประกาศเป็นนักบุญราศีนั้น ต้องมีการพิสูจน์ได้ว่า มีอัศจรรย์อย่างน้อย 2 ประการเกิดขึ้น โดยอาศัยบุญบารมีของ "ผู้น่าเคารพ" นั้น (ในกรณีของมรณสักขี หรือผู้ที่ยอมพลีชีพเพื่อศาสนา ความตายของเขา ก็ถือว่าเป็นอัศจรรย์ที่ยิ่งใหญ่ สามารถใช้แทนอัศจรรย์สองประการที่กำหนดนี้ได้)<ref name="blessed">{{Cite web |url=http://www.catholic.or.th/spiritual/books/saints/ |title=ขั้นตอนการแต่งตั้งเป็นนักบุญ, ประวัตินักบุญตลอดปี |access-date=2013-01-03 |archive-date=2012-09-23 |archive-url=https://web.archive.org/web/20120923022929/http://www.catholic.or.th/spiritual/books/saints/ |url-status=dead }}</ref>
#[[บุญราศี]] (The Blessed)
#[[นักบุญ]] (The Saint) หลังจากได้รับ[[การประกาศเป็นบุญราศี]]แล้ว ก่อนที่จะประกาศแต่งตั้งบุญราศีนั้นเป็น "นักบุญ" จะต้องมีผู้ได้รับการอัศจรรย์อีกอย่างน้อย 2 ประการ ที่เชื่อได้ว่ามาจากการที่บุญราศีนั้นอธิษฐานต่อ[[พระเป็นเจ้า]]แทนผู้นั้น ซึ่งการคอยอัศจรรย์ขั้นนี้อาจจะยาวนานหลายปี ซึ่งบางรายกินเวลาเป็นศตวรรษก็มี เมื่อผ่านขั้นตอนทุกอย่างแล้ว ก็จะมีพิธีการประกาศแต่งตั้งบุญราศีองค์นั้นขึ้นเป็น "นักบุญ" โดยพระสันตะปาปา ณ [[มหาวิหารนักบุญเปโตร]] กรุง[[โรม]]<ref name="blessed">[http://www.catholic.or.th/spiritual/books/saints/ ขั้นตอนการแต่งตั้งเป็นนักบุญ, ประวัตินักบุญตลอดปี]</ref>
#[[นักบุญ]] (The Saint)
เมื่อได้รับประกาศสถาปนาเป็นนักบุญแล้วจึงถือว่าสิ้นสุดกระบวนการสอบสวน<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', 2552, หน้า 475-6</ref>


เมื่อได้รับ[[การประกาศเป็นนักบุญ]]แล้วจึงถือว่าสิ้นสุดกระบวนการสอบสวน<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', 2552, หน้า 475-6</ref>
== ผู้ได้รับการประกาศเป็นบุญราศีในประเทศไทย ==
* '''''บุญราศีทั้งเจ็ดแห่งประเทศไทย''''' วีรกรรมของบุญราศีทั้ง 7 ของประเทศไทยนั้น เกิดขึ้นราวปี พ.ศ.2483 ในสมัยที่ไทยมีข้อพิพาทกับฝรั่งเศส กรณีดินแดนในแถบอินโดจีน ช่วงนั้นมีคนไทยหลายคนเข้าใจผิด คิดว่าศาสนาคริสต์เป็นศาสนาของฝรั่งเศส ทางการไทยจึงได้มีคำสั่งให้ชาวบ้านเลิกนับถือศาสนาคริสต์ แต่มีชาวบ้านอยู่ 7 คนที่ไม่ยอมละทิ้งศาสนา นำโดยนายสีฟอง อ่อนพิทักษ์ (อายุ 33 ปี) , แม่ชีหรือซิสเตอร์ 2 รูปคือ ซิสเตอร์พิลา ทิพย์สุข (อายุ 31 ปี) และซิสเตอร์คำบาง สีฟอง (อายุ 23 ปี) , สตรีสูงวัย 1 ท่านคือนางพุดทา ว่องไว (อายุ 59 ปี) , และเด็กสาวอีก 3 ท่านคือ นางสาวบุดสี ว่องไว (อายุ 16 ปี ) , นางสาวคำไพ ว่องไว (อายุ 15 ปี) และเด็กหญิงพร ว่องไว (อายุ 14 ปี) ทั้งหมดถูกยื่นคำขาดว่าจะต้องถูกฆ่า เพื่อเป็นการพิทักษ์ศาสนาบุญราศีทั้ง 7 จึงพร้อมใจกันยอมสละชีวิตที่ป่าศักดิ์สิทธิ์ โดยมีตำรวจเป็นคนคร่าชีวิต

ปี 2532 พระสันตะปาปาจอห์นปอลที่ 2 ได้ประกาศสดุดีให้ทั้ง 7 คน เป็น "บุญราศีมรณสักขี" หมายถึง คริสตชนผู้ที่ประกอบกรรมดีและพลีชีพเพื่อประกาศยืนยันความเชื่อในพระเจ้าไม่ยอมละทิ้งศาสนา อีกทั้งประกาศให้มีพิธีรำลึกบุญราศีสองคอนทั้ง 7 ในวันที่ 16 ธันวาคม โดยมีการฉลองอย่างยิ่งใหญ่ในมหาวิหารวาติกัน กรุงโรม ซึ่งหลังจากการสถาปนาบุญราศีทั้ง 7 แล้ว วัดสองคอน จึงได้จัดงานชุมนุมครั้งใหญ่ เพื่อฉลองบุญราศีที่ประเทศไทย เรียกงานนี้ว่า “งานสันติร่วมจิตใจเดียว” ในปีต่อๆ มา จัดเป็นงานวันรำลึกบุญราศีทั้ง 7 แต่เพื่อความสะดวกแก่ผู้ที่สนใจอยากไปร่วมงาน การฉลองที่วัดสองคอนจึงกำหนดให้จัดขึ้นในวันเสาร์ที่ใกล้เคียงกับวันที่ 16 ธันวาคมที่สุด [http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/life-style/travel/20100110/94555/%E0%B8%A3%E0%B8%B3%E0%B8%A5%E0%B8%B6%E0%B8%81%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%8D%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%B5%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%AD%E0%B8%99.html (รำลึกบุญราศีที่วัดสองคอน, กรุงเทพธุรกิจ ออนไลน์)]


* '''''บุญราศีนิโคลาส บุญเกิด กฤษบำรุง''''' เกิดเมื่อวันที่ 31 มกราคม ค.ศ. 1895 และรับศีลล้างบาปวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1895 ที่[[วัดนักบุญเปโตร]] สามพราน นครปฐม และรับศีลบวชเป็นพระสงฆ์ โดยพระสังฆราชเรอเน แปร์รอส วันที่ 24 มกราคม ค.ศ. 1926 ที่[[อาสนวิหารอัสสัมชัญ]] บางรัก กรุงเทพฯ
บาทหลวงนิโคลาสทำงานอภิบาลที่วัดหลายแห่ง นั่นคือ วัดแม่พระบังเกิด บางนกแขวก วัดเซนต์นิโคลาส พิษณุโลก วัดในเขตเชียงใหม่ และลำปาง วัดแม่พระเมืองลูร์ด โคราช และวัดนักบุญเทเรซา โนนแก้ว

บาทหลวงนิโคลาสถูกจับใน[[วันสมโภชพระคริสตเจ้าแสดงองค์]] หลังจากประกอบศาสนกิจที่[[วัดนักบุญยอแซฟ]] บ้านหัน เมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1941 ในข้อหาเป็นกบฏภายนอกราชอาณาจักร ถูกตัดสินจำคุก 15 ปี ระหว่างอยู่ในคุกที่เรือนจำกลางบางขวางเป็นปีที่สาม ท่านป่วยเป็นวัณโรคเป็นเวลา 9 เดือน และถึงแก่มรณภาพในคุกนั้นเอง เมื่อวันที่ 12 มกราคม ค.ศ. 1944 รวมอายุ 49 ปี ศพของท่านถูกนำไปฝังไว้ที่วัดบางแพรก ซึ่งเป็นวัดพุทธที่อยู่ใกล้เรือนจำ หลังจากนั้นในเดือนมีนาคม พระสัฆราชแปร์รอสจึงได้รับอนุญาตให้นำศพของท่านมาฝังที่อาสนวิหารอัสสัมชัญ บางรัก กรุงเทพฯ

บาทหลวงนิโคลาสเป็นพระสงฆ์คาทอลิกที่เอาใจใส่งานอภิบาล มีใจเมตตาต่อคนยากจน และมีความกระตือรือร้นในงานธรมทูต ระหว่างที่อยู่ในคุก ท่านได้สอนคำสอนและโปรดศีลล้างบาปให้นักโทษด้วยกันที่ใกล้ตายจำนวน 68 คน

พระคาร์ดินัลไมเกิ้ล มีชัย กิจบุญชู ได้เสนอกรณีของท่านให้สมณกระทรวงการสถาปนานักบุญพิจารณา หลังจากตรวจสอบอย่างถ้วนถี่ชัดแจ้งว่าท่านเป็นผู้ศักดิ์สิทธิ์ พลีชีพเพราะเห็นแก่ความเชื่อในพระเป็นเจ้า สมเด็จพระสันตะปาปา ยอห์น ปอล ที่ 2 ได้ประกาศรับรองความศักดิ์สิทธิ์ของท่าน เมื่อวันที่ 27 มกราคม ค.ศ. 2000 และประกอบพิธีสถาปนาเป็นบุญราศีมรณสักขี ในวันอาทิตย์ที่ 5 มีนาคม ค.ศ. 2000 ณ มหาวิหารนักบุญเปโตร กรุงโรม ประเทศอิตาลี


== อ้างอิง ==
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
{{รายการอ้างอิง}}


[[หมวดหมู่:ผู้ศักดิ์สิทธิ์|*]]
{{เรียงลำดับ|ซนต์}}
[[หมวดหมู่:นักบุญ]]
[[หมวดหมู่:คำศัพท์ศาสนา]]

[[ang:Sanct]]
[[ar:قديس]]
[[arz:قديس]]
[[be:Святы]]
[[be-x-old:Сьвяты]]
[[bg:Светец]]
[[br:Sant]]
[[ca:Sant]]
[[cs:Svatý]]
[[cy:Sant]]
[[da:Helgen]]
[[de:Heiliger]]
[[el:Άγιος]]
[[en:Saint]]
[[eo:Sanktulo]]
[[es:Santo]]
[[et:Pühak]]
[[eu:Santu]]
[[fa:قدیس]]
[[fi:Pyhimys]]
[[fr:Saint]]
[[gd:Naomh]]
[[gl:Santo]]
[[he:קדוש (נצרות)]]
[[hr:Svetac]]
[[hu:Szent]]
[[hy:Սրբություն (քրիստոնեություն)]]
[[ia:Sancto]]
[[id:Santo]]
[[io:Santo]]
[[is:Dýrlingur]]
[[it:Santo]]
[[ja:聖人]]
[[jv:Santo]]
[[ka:წმინდანი]]
[[ko:성인 (종교)]]
[[la:Sanctus]]
[[li:Heilige]]
[[lv:Svētais]]
[[mk:Светец]]
[[mr:संत]]
[[nl:Heilige (christendom)]]
[[nn:Helgen]]
[[no:Helgen]]
[[nrm:Saint]]
[[pl:Święty]]
[[pt:Santo]]
[[qu:Santu]]
[[ro:Sfânt]]
[[ru:Святой]]
[[sco:Saunt]]
[[sh:Svetac]]
[[simple:Saint]]
[[sk:Svätec]]
[[sl:Svetnik]]
[[sq:Shenjtori]]
[[sr:Светац]]
[[sv:Helgon]]
[[sw:Mtakatifu]]
[[ta:புனிதர்]]
[[tl:Santo]]
[[tr:Azîz]]
[[uk:Святі]]
[[vec:Santo]]
[[vi:Thánh (Kitô giáo)]]
[[wa:Sint]]
[[war:Santo]]
[[xal:Бодь]]
[[zh:圣人]]

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 16:22, 12 กันยายน 2566

ภาพ "นักบุญทั้งหลาย" วาดโดยฟราอันเจลีโก

เซนต์ (อังกฤษ: Saint) ชาวคาทอลิกและชาวออร์ทอดอกซ์ เรียกว่านักบุญ หมายถึง ผู้ศักดิ์สิทธิ์[1] ชาวโปรเตสแตนต์เรียกว่าธรรมิกชนหรือผู้บริสุทธิ์[2] แต่ละนิกายในศาสนาคริสต์อธิบายลักษณะของเซนต์แตกต่างกันไป แต่โดยทั่วไปจะถือตามคัมภีร์ไบเบิลที่ระบุว่าเซนต์หมายถึงบุคคลใด ๆ ไม่ว่าบนโลกมนุษย์หรือบนสวรรค์ ที่ได้รับการชำระให้บริสุทธิ์ มีชีวิตอยู่ในพระคริสต์ และเป็นผู้ที่พระคริสต์ทรงประทับอยู่[3][4] เป็นผู้ที่พระเจ้าทรงแยกไว้ต่างหากเพื่อเป็นชนชาติที่บริสุทธิ์ของพระองค์[5][6] ในคริสตจักรอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์และโรมันคาทอลิกถือว่าคริสต์ศาสนิกชนทั้งหมดที่อยู่บนสวรรค์เป็นนักบุญ แต่แต่ละองค์จะได้รับเกียรติ ถูกยึดถือเป็นแบบอย่าง และรับความเคารพไม่เท่ากัน

ในคัมภีร์ไบเบิล มีหลายคนถูกเรียกว่าเป็นเซนต์ เช่น อาโรน ซึ่งถูกเรียกว่าเป็นคนบริสุทธิ์ของพระยาห์เวห์[7] ส่วนในจดหมายของนักบุญเปาโลถึงชาวเอเฟซัส เปาโลอัครทูตก็ประกาศว่าตนเองเป็น “คนเล็กน้อยยิ่งกว่าคนเล็กน้อยที่สุดในพวกธรรมิกชนทั้งหมด”[8]

ในปัจจุบันคำว่า "เซนต์" ยังอาจใช้หมายถึงผู้ศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาอื่น ๆ ด้วย เช่น ซาดิคในศาสนายูดาห์ พระอริยบุคคลในศาสนาพุทธ ฤๅษีหรือคุรุในศาสนาฮินดู วะลีย์ในศาสนาอิสลาม เป็นต้น

คริสตจักรโรมันคาทอลิก

[แก้]

ในคริสตจักรโรมันคาทอลิก นักบุญหมายถึงบุคคลที่ได้รับการสถาปนาอย่างเป็นทางการโดยพระศาสนจักร ซึ่งมีความเชื่อว่าบุคคลเหล่านั้นได้อยู่ในสวรรค์แล้ว โดยความหมายนี้ทุกคนที่อยู่ในสวรรค์ก็คือนักบุญถึงแม้ว่าจะไม่ได้รับการประกาศอย่างเป็นทางการ บุคคลที่พระศาสนจักรได้ประการให้เป็นนักบุญนั้นมีความดีโดดเด่น ในการปฏิบัติตามน้ำพระทัยพระเป็นเจ้า คริสตจักรจะยกย่องบุคคลนั้นเป็นพิเศษเพื่อเป็นแบบอย่างและกำลังใจแต่คริสตชนอื่น ๆ[9]

ตามกระบวนการประกาศเป็นนักบุญ (canonization) ในคริสตจักรคาทอลิก จะมีการสอบสวนและให้พระสันตะปาปาประกาศสถาปนาเป็นลำดับขั้นดังนี้

  1. ผู้รับใช้พระเป็นเจ้า (The Servant of God)
  2. ผู้น่าเคารพ (The Venerable)
  3. บุญราศี (The Blessed) หลังจากที่ได้รับการประกาศให้เป็น "ผู้น่าเคารพ" หรือ "คารวียะ" แล้ว ก็จะมีการดำเนินการเพื่อให้บุคคลนั้นได้รับการประกาศเป็นบุญราศี แต่ก่อนที่จะได้รับประกาศเป็นนักบุญราศีนั้น ต้องมีการพิสูจน์ได้ว่า มีอัศจรรย์อย่างน้อย 2 ประการเกิดขึ้น โดยอาศัยบุญบารมีของ "ผู้น่าเคารพ" นั้น (ในกรณีของมรณสักขี หรือผู้ที่ยอมพลีชีพเพื่อศาสนา ความตายของเขา ก็ถือว่าเป็นอัศจรรย์ที่ยิ่งใหญ่ สามารถใช้แทนอัศจรรย์สองประการที่กำหนดนี้ได้)[10]
  4. นักบุญ (The Saint) หลังจากได้รับการประกาศเป็นบุญราศีแล้ว ก่อนที่จะประกาศแต่งตั้งบุญราศีนั้นเป็น "นักบุญ" จะต้องมีผู้ได้รับการอัศจรรย์อีกอย่างน้อย 2 ประการ ที่เชื่อได้ว่ามาจากการที่บุญราศีนั้นอธิษฐานต่อพระเป็นเจ้าแทนผู้นั้น ซึ่งการคอยอัศจรรย์ขั้นนี้อาจจะยาวนานหลายปี ซึ่งบางรายกินเวลาเป็นศตวรรษก็มี เมื่อผ่านขั้นตอนทุกอย่างแล้ว ก็จะมีพิธีการประกาศแต่งตั้งบุญราศีองค์นั้นขึ้นเป็น "นักบุญ" โดยพระสันตะปาปา ณ มหาวิหารนักบุญเปโตร กรุงโรม[10]

เมื่อได้รับการประกาศเป็นนักบุญแล้วจึงถือว่าสิ้นสุดกระบวนการสอบสวน[11]

อ้างอิง

[แก้]
  1. Wycliffe Bible Encyclopedia, "saint", ISBN 0-8024-9697-0, "Christians in general are 'saints' in NT usage, and the term is common in reference to the inclusive membership of a local church . . . Other references in the NT equate Christians in general with 'saints' . . . All these are identified as saints because they are in Christ Jesus."
  2. เอเฟซัส 1:18
  3. "2 โครินธ์ 5:17". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-04. สืบค้นเมื่อ 2011-12-12.
  4. "2 โครินธ์ 13:5". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2016-03-05. สืบค้นเมื่อ 2011-12-12.
  5. 2 โครินธ์ 1:1, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011
  6. ฟีลิปปี 1:1, พระคริสตธรรมคัมภีร์ ฉบับมาตรฐาน 2011
  7. สดุดี 106:16
  8. เอเฟซัส 3:8
  9. โรแบร์ โกสเต, บาทหลวง, คำสอนคริสตชน, พิมพ์ครั้งที่ 3, 2550, หน้า 194
  10. 10.0 10.1 "ขั้นตอนการแต่งตั้งเป็นนักบุญ, ประวัตินักบุญตลอดปี". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2012-09-23. สืบค้นเมื่อ 2013-01-03. อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่สมเหตุสมผล มีนิยามชื่อ "blessed" หลายครั้งด้วยเนื้อหาต่างกัน
  11. ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 475-6