ข้ามไปเนื้อหา

ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ฝรั่งเศสสมัยกลาง"

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
 
(ไม่แสดง 3 รุ่นระหว่างกลางโดยผู้ใช้ 2 คน)
บรรทัด 17: บรรทัด 17:
|flag_p2 =
|flag_p2 =
|s1 = ฝรั่งเศสสมัยใหม่ตอนต้น
|s1 = ฝรั่งเศสสมัยใหม่ตอนต้น
|flag_s1 = Pavillon royal de la France.svg
|flag_s1 = Royal Flag of France.svg
|s2 =
|s2 =
|flag_s2 =
|flag_s2 =
บรรทัด 37: บรรทัด 37:
|common_languages = {{plainlist|
|common_languages = {{plainlist|
*[[Middle Latin|ละติน]], [[History of French|ฝรั่งเศส]] (ทางการ)
*[[Middle Latin|ละติน]], [[History of French|ฝรั่งเศส]] (ทางการ)
*[[ภาษาอุตซิตา|อุตซิตา]], {{nowrap|[[ภาษาอาร์เปอตัง|ฝรั่งเศสพรอว็องส์]]}}, [[ภาษาเบรอตง|เบรอตง]], [[ภาษาบาสก์|บาสก์]]}}
*[[ภาษาอุตซิตา|อุตซิตา]], {{nowrap|[[ภาษาอาร์เปอตัง|ฝรั่งเศสพรอว็องส์]]}}, [[ภาษาเบรอตาญ|เบรอตาญ]], [[ภาษาบาสก์|บาสก์]]}}
|government_type = [[ราชาธิปไตย]][[Feudalism|ระบบศักดินา]]
|government_type = [[ราชาธิปไตย]][[Feudalism|ระบบศักดินา]]
|title_leader = [[King of France|กษัตริย์ฝรั่งเศส]]
|title_leader = [[King of France|กษัตริย์ฝรั่งเศส]]
บรรทัด 68: บรรทัด 68:
'''[[ราชอาณาจักรฝรั่งเศส]]''' ใน[[สมัยกลาง]] (ตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 10 จนถึงช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15) เป็นช่วงที่[[จักรวรรดิการอแล็งเฌียง]]และ[[อาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก]] (ค.ศ. 843–987) เริ่มเสื่อมอำนาจลง และการเข้าสู่อำนาจของ[[ราชวงศ์กาเปเซียง]] (ค.ศ. 987–1328) รวมถึงปัญหาต่าง ๆ ในการปกครองเหล่าราชรัฐน้อยใหญ่ (ดัชชีและเคาน์ตีต่าง ๆ เช่น แคว้น[[นอร์มัน]] [[เคาน์ตีอ็องฌู|อ็องฌู]]) ที่ได้อุบัติขึ้นจากการรุกรานของ[[ชาวไวกิง]]และจึงทำให้[[จักรวรรดิการอแล็งเฌียง]]ค่อย ๆ อ่อนแอลง และรวมถึงการเริ่มใช้การควบคุมและขยายอำนาจทางการปกครอง (โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายใต้[[พระเจ้าฟีลิปที่ 2 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าฟีลิปที่ 2]] และ[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 9]] ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 และรวมถึงการเถลิงอำนาจของ[[ราชวงศ์วาลัว]] (ค.ศ. 1328–1589) รวมทั้งการยืดเยื้อของกรณีปัญหาต่อ[[ราชวงศ์แพลนแทเจเนต]]และ[[จักรวรรดิอ็องฌู]]ซึ่งควบคุมโดย[[ราชอาณาจักรอังกฤษ]]ใน[[สงครามร้อยปี]] (ค.ศ. 1337–1453) และต่อด้วยการระบาดของ[[กาฬมรณะ]] (ค.ศ. 1348) ซึ่งเป็นผลทำให้การปกครองนั้นรวมศูนย์มากขึ้นและแผ่ขยายอำนาจมากขึ้นในช่วงสมัยใหม่ตอนต้นและจึงเป็นการสร้างเสริมความรู้สึกในความเป็นชาติฝรั่งเศสมากขึ้นด้วย
'''[[ราชอาณาจักรฝรั่งเศส]]''' ใน[[สมัยกลาง]] (ตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 10 จนถึงช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15) เป็นช่วงที่[[จักรวรรดิการอแล็งเฌียง]]และ[[อาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก]] (ค.ศ. 843–987) เริ่มเสื่อมอำนาจลง และการเข้าสู่อำนาจของ[[ราชวงศ์กาเปเซียง]] (ค.ศ. 987–1328) รวมถึงปัญหาต่าง ๆ ในการปกครองเหล่าราชรัฐน้อยใหญ่ (ดัชชีและเคาน์ตีต่าง ๆ เช่น แคว้น[[นอร์มัน]] [[เคาน์ตีอ็องฌู|อ็องฌู]]) ที่ได้อุบัติขึ้นจากการรุกรานของ[[ชาวไวกิง]]และจึงทำให้[[จักรวรรดิการอแล็งเฌียง]]ค่อย ๆ อ่อนแอลง และรวมถึงการเริ่มใช้การควบคุมและขยายอำนาจทางการปกครอง (โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายใต้[[พระเจ้าฟีลิปที่ 2 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าฟีลิปที่ 2]] และ[[พระเจ้าหลุยส์ที่ 9 แห่งฝรั่งเศส|พระเจ้าหลุยส์ที่ 9]] ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 และรวมถึงการเถลิงอำนาจของ[[ราชวงศ์วาลัว]] (ค.ศ. 1328–1589) รวมทั้งการยืดเยื้อของกรณีปัญหาต่อ[[ราชวงศ์แพลนแทเจเนต]]และ[[จักรวรรดิอ็องฌู]]ซึ่งควบคุมโดย[[ราชอาณาจักรอังกฤษ]]ใน[[สงครามร้อยปี]] (ค.ศ. 1337–1453) และต่อด้วยการระบาดของ[[กาฬมรณะ]] (ค.ศ. 1348) ซึ่งเป็นผลทำให้การปกครองนั้นรวมศูนย์มากขึ้นและแผ่ขยายอำนาจมากขึ้นในช่วงสมัยใหม่ตอนต้นและจึงเป็นการสร้างเสริมความรู้สึกในความเป็นชาติฝรั่งเศสมากขึ้นด้วย


ในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 และ 13 นั้น ฝรั่งเศสถือเป็นศูนย์กลาง (และต้นกำเนิด) ของวัฒนธรรมที่แผ่อิทธิพลไปทั่วทั้งยุโรปตะวันตก รวมถึงการเปลี่ยนผ่านจาก[[สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์]]ไปสู่[[สถาปัตยกรรมกอทิก]] (ซึ่งเริ่มต้นขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ในฝรั่งเศส) และ[[ศิลปะกอทิก]] รวมถึงการก่อตั้งมหาวิทยาลัยสมัยกลาง เช่น [[มหาวิทยาลัยปารีส]] ซึ่งรับรองใน ค.ศ. 1150 มหาวิทยาลัยมงเปอลีเย (ค.ศ. 1220) มหาวิทยาลัยตูลูซ (ค.ศ. 1229) และมหาวิทยาลัยออร์เลอ็อง (ค.ศ. 1235) และ "[[สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในคริสต์ศตวรรษที่ 12]]" ซึ่งรวมถึงวรรณกรรม และ[[ดนตรีสมัยกลาง]] เป็นต้น
ในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 และ 13 นั้น ฝรั่งเศสถือเป็นศูนย์กลาง (และต้นกำเนิด) ของวัฒนธรรมที่แผ่อิทธิพลไปทั่วทั้งยุโรปตะวันตก รวมถึงการเปลี่ยนผ่านจาก[[สถาปัตยกรรมโรมาเนสก์]]ไปสู่[[สถาปัตยกรรมกอทิก]] (ซึ่งเริ่มต้นขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ในฝรั่งเศส) และ[[ศิลปะกอทิก]] รวมถึงการก่อตั้งมหาวิทยาลัยสมัยกลาง เช่น [[มหาวิทยาลัยปารีส]] ซึ่งรับรองใน ค.ศ. 1150 มหาวิทยาลัยมงเปอลีเย (ค.ศ. 1220) มหาวิทยาลัยตูลูซ (ค.ศ. 1229) และมหาวิทยาลัยออร์เลอ็อง (ค.ศ. 1235) และ "[[สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในคริสต์ศตวรรษที่ 12]]" ซึ่งรวมถึงวรรณกรรมและ[[ดนตรีสมัยกลาง]]เป็นต้น


==ภูมิศาสตร์==
==ภูมิศาสตร์==
บรรทัด 86: บรรทัด 86:
* Stéphane Lebecq. ''Les origines franques: Ve-IXe siècles''. Series: Nouvelle histoire de la France médiévale. Paris: Editions du Seuil, 1999. {{ISBN|2-02-011552-2}}
* Stéphane Lebecq. ''Les origines franques: Ve-IXe siècles''. Series: Nouvelle histoire de la France médiévale. Paris: Editions du Seuil, 1999. {{ISBN|2-02-011552-2}}
* Chris Wickham. ''The Inheritance of Rome: Illuminating the Dark Ages, 400–1000.'' Penguin: 2009. {{ISBN|978-0-14-311742-1}}
* Chris Wickham. ''The Inheritance of Rome: Illuminating the Dark Ages, 400–1000.'' Penguin: 2009. {{ISBN|978-0-14-311742-1}}
===สมัยกลางช่วงสูงสุด===
===สมัยกลางตอนกลาง===
* Dominique Barthélemy. {{in lang|fr}} ''L'ordre seigneurial: XIe-XIIe siècle.'' Series: Nouvelle histoire de la France médiévale, tome 3. Editions du Seuil. {{ISBN|2-02-011554-9}}
* Dominique Barthélemy. {{in lang|fr}} ''L'ordre seigneurial: XIe-XIIe siècle.'' Series: Nouvelle histoire de la France médiévale, tome 3. Editions du Seuil. {{ISBN|2-02-011554-9}}
* Marc Bloch. ''Feudal Society.'' 2nd edition: Routledge, 1989. {{ISBN|978-0226059785}}
* Marc Bloch. ''Feudal Society.'' 2nd edition: Routledge, 1989. {{ISBN|978-0226059785}}

รุ่นแก้ไขปัจจุบันเมื่อ 20:32, 4 กันยายน 2566

ราชอาณาจักรฝรั่งเศส

Royaume de France (ฝรั่งเศส)
  • ค.ศ. 987–คริสต์ศตวรรษที่ 15
(ฝรั่งเศสสมัยกลาง)
ราชอาณาจักรฝรั่งเศสใน ค.ศ. 1000
ราชอาณาจักรฝรั่งเศสใน ค.ศ. 1000
ราชอาณาจักรฝรั่งเศสใน ค.ศ. 1190 บริเวณสีเขียวอ่อนอยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิอ็องฌู
ราชอาณาจักรฝรั่งเศสใน ค.ศ. 1190 บริเวณสีเขียวอ่อนอยู่ภายใต้การปกครองของจักรวรรดิอ็องฌู
เมืองหลวงปารีส
ภาษาทั่วไป
ศาสนา
โรมันคาทอลิก
การปกครองราชาธิปไตยระบบศักดินา
กษัตริย์ฝรั่งเศส 
สภานิติบัญญัติสภาฐานันดร
(ตั้งแต่ ค.ศ. 1302)
ยุคประวัติศาสตร์สมัยกลาง
ค.ศ. 987
ค.ศ. 1337–1453
ค.ศ. 1422
คริสต์ศตวรรษที่ 15
สกุลเงินลีฟวร์, ฟรังก์, เอกูว์
ก่อนหน้า
ถัดไป
แฟรงก์ตะวันตก
ฝรั่งเศสสมัยใหม่ตอนต้น

ราชอาณาจักรฝรั่งเศส ในสมัยกลาง (ตั้งแต่ราวคริสต์ศตวรรษที่ 10 จนถึงช่วงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 15) เป็นช่วงที่จักรวรรดิการอแล็งเฌียงและอาณาจักรแฟรงก์ตะวันตก (ค.ศ. 843–987) เริ่มเสื่อมอำนาจลง และการเข้าสู่อำนาจของราชวงศ์กาเปเซียง (ค.ศ. 987–1328) รวมถึงปัญหาต่าง ๆ ในการปกครองเหล่าราชรัฐน้อยใหญ่ (ดัชชีและเคาน์ตีต่าง ๆ เช่น แคว้นนอร์มัน อ็องฌู) ที่ได้อุบัติขึ้นจากการรุกรานของชาวไวกิงและจึงทำให้จักรวรรดิการอแล็งเฌียงค่อย ๆ อ่อนแอลง และรวมถึงการเริ่มใช้การควบคุมและขยายอำนาจทางการปกครอง (โดยเฉพาะอย่างยิ่งภายใต้พระเจ้าฟีลิปที่ 2 และพระเจ้าหลุยส์ที่ 9 ในคริสต์ศตวรรษที่ 13 และรวมถึงการเถลิงอำนาจของราชวงศ์วาลัว (ค.ศ. 1328–1589) รวมทั้งการยืดเยื้อของกรณีปัญหาต่อราชวงศ์แพลนแทเจเนตและจักรวรรดิอ็องฌูซึ่งควบคุมโดยราชอาณาจักรอังกฤษในสงครามร้อยปี (ค.ศ. 1337–1453) และต่อด้วยการระบาดของกาฬมรณะ (ค.ศ. 1348) ซึ่งเป็นผลทำให้การปกครองนั้นรวมศูนย์มากขึ้นและแผ่ขยายอำนาจมากขึ้นในช่วงสมัยใหม่ตอนต้นและจึงเป็นการสร้างเสริมความรู้สึกในความเป็นชาติฝรั่งเศสมากขึ้นด้วย

ในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 และ 13 นั้น ฝรั่งเศสถือเป็นศูนย์กลาง (และต้นกำเนิด) ของวัฒนธรรมที่แผ่อิทธิพลไปทั่วทั้งยุโรปตะวันตก รวมถึงการเปลี่ยนผ่านจากสถาปัตยกรรมโรมาเนสก์ไปสู่สถาปัตยกรรมกอทิก (ซึ่งเริ่มต้นขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 12 ในฝรั่งเศส) และศิลปะกอทิก รวมถึงการก่อตั้งมหาวิทยาลัยสมัยกลาง เช่น มหาวิทยาลัยปารีส ซึ่งรับรองใน ค.ศ. 1150 มหาวิทยาลัยมงเปอลีเย (ค.ศ. 1220) มหาวิทยาลัยตูลูซ (ค.ศ. 1229) และมหาวิทยาลัยออร์เลอ็อง (ค.ศ. 1235) และ "สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยาในคริสต์ศตวรรษที่ 12" ซึ่งรวมถึงวรรณกรรมและดนตรีสมัยกลางเป็นต้น

ภูมิศาสตร์

[แก้]

นับตั้งแต่สมัยกลางเป็นต้นมา ผู้ปกครองฝรั่งเศสล้วนยึดถือว่าพรมแดนของตนนั้นเป็นพรมแดนธรรมชาติ เช่น เทือกเขาพิรินี เทือกเขาแอลป์ และแม่น้ำไรน์ เป็นต้น จึงเป็นที่มาของนโยบายอันแข็งกร้าวและเน้นการรุกรานเป็นหลัก ซึ่งหลักความเชื่อนี้นั้นในความจริงแล้วไม่ใช่เป็นดินแดนในปกครองของราชอาณาจักร รวมทั้งพระราชอำนาจภายในพระราชอาณาจักรนั้นก็มีความเปลี่ยนแปลงตลอด ดินแดนภายในราชอาณาจักรฝรั่งเศสนั้นมีความแตกต่างทางภูมิศาสตร์มาก ตอนเหนือและตอนกลางนั้นมีอากาศอบอุ่นในขณะที่ตอนใต้นั้นมีอากาศแบบเมดิเตอร์เรเนียน ในขณะที่ความแตกต่างระหว่างตอนเหนือและตอนใต้ที่มีมากแล้ว สิ่งที่สำคัญพอกันคือระยะห่างจากเทือกเขาต่าง ๆ ได้แก่ แอลป์ พิรินี และมาซิฟซ็องทราลเป็นต้น นอกจากนี้ยังมีทางน้ำที่สำคัญหลายแห่ง ได้แก่ แม่น้ำลัวร์ แม่น้ำโรน แม่น้ำแซน และแม่น้ำการอนซึ่งได้มีการตั้งรกรากมาก่อนหน้านี้ และเมืองใหญ่หลัก ๆ นั้นยังตั้งอยู่บริเวณริมแม่น้ำเหล่านี้ โดยมีป่าไม้หรือที่ราบขนาดใหญ่คั่นระหว่างกัน[1]

การกล่าวถึงขนาดที่ชัดเจนของราชอาณาจักรฝรั่งเศสในสมัยกลางนั้นมีความซับซ้อนเนื่องจากมีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับที่ดินที่ถือครองโดยพระมหากษัตริย์ "ดอแมนรัวยาล" และที่ดินที่ขึ้นกับผู้ปกครองคนอื่น จากเอกสารที่ตกทอดมาจากจังหวัดกอลของโรมันนั้นดินแดนนี้ไม่ได้ถูกปกครองโดยสมบูรณ์จากราชอาณาจักรแฟรงก์และจักรวรรดิการอแล็งเฌียง และในปีแรก ๆ ของการมีอำนาจของราชวงศ์กาเปเซียง ราชอาณาจักรฝรั่งเศสในสมัยนั้นถือว่าไม่ต่างจากนิยาย "ดอแมนรัวยาล" แห่งราชวงศ์กาเปเซียงนั้นกินอาณาเขตเพียงแต่บริเวณใกล้ปารีส บูร์ฌ และซ็องส์ ที่เหลือส่วนใหญ่ในฝรั่งเศสนั้นล้วนเป็นส่วนหนึ่งของอากีแตน ดัชชีนอร์ม็องดี ดัชชีบริตานี กงเตช็องปาญ ดัชชีบูร์กอญ เคาน์ตีฟลานเดอส์ และดินแดนอื่น ๆ โดยหลักการแล้ว ผู้ปกครองดินแดนเหล่านี้เคารพนับถือพระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส แต่ความจริงแล้วพระราชอำนาจของพระมหากษัตริย์นั้นแทบไม่มีอิทธิพลและความสำคัญใด ๆ ในดินแดนเหล่านี้เลย ซึ่งต่อมาในที่สุดราชวงศ์แพลนแทเจเนตสามารถรวบรวมนอร์ม็องดี อากีแตน และอังกฤษเข้าเป็นหนึ่งเดียวได้ในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13

การพิชิตดินแดนโดยพระเจ้าฟีลิปที่ 2 ในปีที่ทรงขึ้นครองราชย์ (ค.ศ. 1180) และปีที่เสด็จสวรรคต (ค.ศ. 1223)

พระเจ้าฟีลิปที่ 2 ได้แผ่ขยายอาณาเขตของฝรั่งเศสได้แผ่ไพศาลในช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 13 แต่สุดท้ายส่วนใหญ่ก็เสียดินแดนที่ได้มาไปจากการ "อาปานาฌ" (หรือการพระราชทานดินแดนให้แก่สมาชิกในพระราชวงศ์เพื่อปกครอง) และความพ่ายแพ้ต่อสงครามร้อยปี จนกระทั่งในรัชสมัยของพระเจ้าชาร์ลที่ 7และพระเจ้าหลุยส์ที่ 11 ได้ขยายดินแดนจนเกือบเท่ากับประเทศฝรั่งเศสในปัจจุบัน (ยกเว้นเบรอตาญ นาวาร์ และบริเวณบางส่วนของภาคเหนือและตะวันออกของฝรั่งเศส

อ้างอิง

[แก้]
  1. Hallam & Everard, pp. 1–2.

บรรณานุกรม

[แก้]

สมัยกลางตอนต้น

[แก้]
  • Stéphane Lebecq. Les origines franques: Ve-IXe siècles. Series: Nouvelle histoire de la France médiévale. Paris: Editions du Seuil, 1999. ISBN 2-02-011552-2
  • Chris Wickham. The Inheritance of Rome: Illuminating the Dark Ages, 400–1000. Penguin: 2009. ISBN 978-0-14-311742-1

สมัยกลางตอนกลาง

[แก้]
  • Dominique Barthélemy. (ในภาษาฝรั่งเศส) L'ordre seigneurial: XIe-XIIe siècle. Series: Nouvelle histoire de la France médiévale, tome 3. Editions du Seuil. ISBN 2-02-011554-9
  • Marc Bloch. Feudal Society. 2nd edition: Routledge, 1989. ISBN 978-0226059785
  • Constance Brittain Bouchard. Strong of Body, Brave and Noble": Chivalry and Society in Medieval France. ISBN 978-0801485480
  • Norman F. Cantor. The Civilization of the Middle Ages. New York: HarperPerennial, 1993. ISBN 0-06-092553-1
  • Alain Demurger. (ในภาษาฝรั่งเศส) Temps de crises, temps d'espoirs: XIVe-XVe siècle. Series: Nouvelle histoire de la France médiévale, tome 5. Editions du Seuil. ISBN 2-02-012221-9
  • Monique Bourin-Derruau. (ในภาษาฝรั่งเศส) Temps d'équilibres, temps de ruptures: XIIIe siècle. Series: Nouvelle histoire de la France médiévale, tome 4. Editions du Seuil. ISBN 2-02-012220-0
  • Georges Duby. France in the Middle Ages 987–1460: From Hugh Capet to Joan of Arc. Wiley-Blackwell. 1993. ISBN 978-0631189459
  • Elizabeth M. Hallam & Judith Everard. Capetian France 987–1328. Editions Longman. 2nd edition: Pearson, 2001. ISBN 978-0582404281
  • William Kibler. Medieval France: An Encyclopedia Series: Routledge Encyclopedias of the Middle Ages. Routledge, 1995. ISBN 978-0824044442