ลัทธิพาณิชยนิยม
ลัทธิพาณิชยนิยม (อังกฤษ: Mercantilism) เป็นนโยบายเศรษฐกิจแห่งชาติที่ออกแบบมาเพื่อเน้นการส่งออกมากกว่านำเข้า นโยบายนี้มีจุดประสงค์เพื่อลดการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด หรือให้เกินดุล ลัทธิพาณิชยนิยมยังรวมถึงนโยบายเศรษฐกิจแห่งชาติที่มีจุดประสงค์เพื่อให้มีทุนสำรองระหว่างประเทศจากการได้เปรียบดุลการค้า โดยเฉพาะสินค้าสำเร็จรูป ในประวัติศาสตร์ นโยบายนี้มักนำไปสู่สงครามและผลักดันให้เกิดการขยายอาณานิคม[1]
ลัทธิพาณิชยนิยมมีบทบาทในยุโรปสมัยใหม่ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึง 18 หรือยุคก่อนอุตสาหกรรม (proto-industrialization)[2] ก่อนที่จะเสื่อมไป แม้ว่ามีผู้ออกความเห็นว่ายังคงมีอยู่ในเศรษฐกิจประเทศอุตสาหกรรม[3] ในรูปแบบของการแทรกแซงทางเศรษฐกิจ (economic interventionism)[4][5][6][7][8]
อ้างอิง
แก้- ↑ Johnson et al. History of the domestic and foreign commerce of the United States p. 37.
- ↑ "Mercantilism," Laura LaHaye The Concise Encyclopedia of Economics (2008)
- ↑ Samuelson 2007 .
- ↑ kanopiadmin (2017-02-15). "Mercantilism: A Lesson for Our Times? | Murray N. Rothbard". Mises Institute (ภาษาอังกฤษ). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2021-01-05. สืบค้นเมื่อ 2018-09-11.
- ↑ https://krugman.blogs.nytimes.com/2009/12/31/macroeconomic-effects-of-chinese-mercantilism/?mtrref=www.google.com&mtrref=krugman.blogs.nytimes.com&gwh=4FBA77E3C830475DD4BB0C2EFB0A4E96&gwt=pay
- ↑ https://www.reuters.com/article/us-china-usa-business/u-s-tech-group-urges-global-action-against-chinese-mercantilism-idUSKBN16N0YJ
- ↑ https://www.forbes.com/sites/peterpham/2018/03/20/why-do-all-roads-lead-to-china/#51d9ae1e4ac8
- ↑ https://piie.com/commentary/op-eds/learning-chinese-mercantilism