ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์อเมริกาใต้

การแข่งขันฟุตบอลทีมชาติ

ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์อเมริกาใต้ (อังกฤษ: South American Youth Football Championship) เป็นรายการแข่งขันฟุตบอลทีมชาติในทวีปอเมริกาใต้ จัดการแข่งขันโดย คอนเมบอล ซึ่งเป็นการแข่งขันฟุตบอลในระดับเยาวชนรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี ก่อตั้งขึ้นในปี ค.ศ. 1954 ปัจจุบันมี 10 ทีมชาติทั่วทวีปเข้าแข่งขัน

ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์อเมริกาใต้
ผู้จัดคอนเมบอล
ก่อตั้ง1954; 71 ปีที่แล้ว (1954)
ภูมิภาคอเมริกาใต้
จำนวนทีม10
ผ่านเข้าไปเล่นในฟุตบอลโลก รุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี
ทีมชนะเลิศปัจจุบัน บราซิล (2023)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุด บราซิล (12 ครั้ง)
เว็บไซต์conmebol.com/sub20
2023

ประวัติ

แก้

ฟุตบอลเยาวชนชิงแชมป์อเมริกาใต้ ครั้งแรกถูกจัดขึ้นที่ ประเทศเวเนซุเอลา ในปี ค.ศ. 1954 โดยเป็นการแข่งขันในระดับรุ่นอายุไม่เกิน 19 ปี ก่อนที่จะถูกเปลี่ยนเป็นรุ่นไม่เกิน 20 ปีในปี ค.ศ. 1977 ทีมชาติบราซิล เป็นทีมที่ชนะเลิศการแข่งขันมากที่สุดที่ 11 สมัย[1]

รูปแบบ

แก้

การแข่งขันจะเกิดขึ้นในประเทศเจ้าภาพ โดยมีทีมชาติรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปีที่เป็นสมาชิกคอนเมบอลทั้งหมด 10 ทีม (หากไม่มีการถอนทีมจากสมาคมใด ๆ) โดยจะถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ทีม โดยแต่ละทีมจะลงเล่นแบบพบกันหมด 4 นัดทีมที่อันดับที่สุด 3 ทีมจะผ่านเข้าสู่รอบสุดท้ายรวมทั้งสองกลุ่มเป็น 6 ทีม โดยลงเล่นแบบพบกันหมดรวม 5 นัด ซึ่งทีมที่ได้ลำดับที่ 1 จะได้เป็นทีมชนะเลิศทันทีและจะได้ผ่านเข้ารอบฟุตบอลโลกเยาวชนรุ่นอายุไม่เกิน 20 ปี เช่นเดียวกับลำดับที่ 2–4 โดยหากการแข่งขันจัดขึ้นในปีเดียวกับที่มีการแข่งขันแพนอเมริกันเกมส์ ทีมลำดับที่ 1–3 ก็จะผ่านเข้าไปลงเล่นในการแข่งขันนี้ด้วยเช่นกัน

ผลการแข่งขัน

แก้

อ้างอิง[1]

ปี เจ้าภาพ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 อันดับที่ 4
1954
รายละเอียด
  เวเนซุเอลา  
อุรุกวัย
 
บราซิล
 
เวเนซุเอลา
 
เปรู
1958
รายละเอียด
  ชิลี  
อุรุกวัย
 
อาร์เจนตินา
 
บราซิล
 
เปรู
1964
รายละเอียด
  โคลอมเบีย  
อุรุกวัย
 
ปารากวัย
 
โคลอมเบีย
 
ชิลี
ปี เจ้าภาพ ชนะเลิศ สกอร์ รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 สกอร์ อันดับที่ 4
1967
รายละเอียด
  ปารากวัย  
อาร์เจนตินา
2–2[2]  
ปารากวัย
  Brazil
  เปรู[3]
1971
รายละเอียด
  ปารากวัย  
ปารากวัย
1–1[4]  
อุรุกวัย
  อาร์เจนตินา
  เปรู[3]
1974
รายละเอียด
  ชิลี  
บราซิล
2–1  
อุรุกวัย
 
ปารากวัย
1–0  
อาร์เจนตินา
ปี เจ้าภาพ ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 อันดับที่ 4
1975
รายละเอียด
  เปรู  
อุรุกวัย
[5]
 
ชิลี
 
อาร์เจนตินา
 
เปรู
1977
รายละเอียด
  เวเนซุเอลา  
อุรุกวัย
 
บราซิล
 
ปารากวัย
 
ชิลี
1979
รายละเอียด
  อุรุกวัย  
อุรุกวัย
 
อาร์เจนตินา
 
ปารากวัย
 
บราซิล
1981
รายละเอียด
  เอกวาดอร์  
อุรุกวัย
 
บราซิล
 
อาร์เจนตินา
 
โบลิเวีย
1983
รายละเอียด
  โบลิเวีย  
บราซิล
 
อุรุกวัย
 
อาร์เจนตินา
 
โบลิเวีย
1985
รายละเอียด
  ปารากวัย  
บราซิล
 
ปารากวัย[6]
 
โคลอมเบีย
 
อุรุกวัย
1987
รายละเอียด
  โคลอมเบีย  
โคลอมเบีย
 
บราซิล
 
อาร์เจนตินา
 
อุรุกวัย
1988
รายละเอียด
  อาร์เจนตินา  
บราซิล
 
โคลอมเบีย
 
อาร์เจนตินา
 
ปารากวัย
1991
รายละเอียด
  เวเนซุเอลา  
บราซิล
 
อาร์เจนตินา
 
อุรุกวัย
 
ปารากวัย
1992
รายละเอียด
  โคลอมเบีย  
บราซิล
 
อุรุกวัย
 
โคลอมเบีย
 
เอกวาดอร์
1995
รายละเอียด
  โบลิเวีย  
บราซิล
 
อาร์เจนตินา
 
ชิลี
 
เอกวาดอร์
1997
รายละเอียด
  ชิลี  
อาร์เจนตินา
 
บราซิล
 
ปารากวัย
 
อุรุกวัย
1999
รายละเอียด
  อาร์เจนตินา  
อาร์เจนตินา
 
อุรุกวัย
 
บราซิล
 
ปารากวัย
2001
รายละเอียด
  เอกวาดอร์  
บราซิล
 
อาร์เจนตินา
 
ปารากวัย
 
ชิลี
2003
รายละเอียด
  อุรุกวัย  
อาร์เจนตินา
 
บราซิล
 
ปารากวัย
 
โคลอมเบีย
2005
รายละเอียด
  โคลอมเบีย  
โคลอมเบีย
 
บราซิล
 
อาร์เจนตินา
 
ชิลี
2007
รายละเอียด
  ปารากวัย  
บราซิล
 
อาร์เจนตินา
 
อุรุกวัย
 
ชิลี
2009
รายละเอียด
  เวเนซุเอลา  
บราซิล
 
ปารากวัย
 
อุรุกวัย
 
เวเนซุเอลา
2011
รายละเอียด
  เปรู  
บราซิล
 
อุรุกวัย
 
อาร์เจนตินา
 
เอกวาดอร์
2013
รายละเอียด
  อาร์เจนตินา  
โคลอมเบีย
 
ปารากวัย
 
อุรุกวัย
 
ชิลี
2015
รายละเอียด
  อุรุกวัย  
อาร์เจนตินา
 
โคลอมเบีย
 
อุรุกวัย
 
บราซิล
2017
รายละเอียด
 
เอกวาดอร์
 
อุรุกวัย
 
เอกวาดอร์
 
เวเนซุเอลา
 
อาร์เจนตินา
2019
รายละเอียด
  ชิลี  
เอกวาดอร์
 
อาร์เจนตินา
 
อุรุกวัย
 
โคลอมเบีย
2021
รายละเอียด
  เวเนซุเอลา

ทีมชนะเลิศในแต่ละประเทศ

แก้
ทีม ชนะเลิศ รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 อันดับที่ 4
  บราซิล 11 (1974, 1983, 1985, 1988, 1991, 1992, 1995, 2001, 2007, 2009, 2011) 7 (1954, 1977, 1981, 1987, 1997, 2003, 2005) 3 (1958, 1967, 1999) 2 (1979, 2015)
  อุรุกวัย 8 (1954, 1958, 1964, 1975, 1977, 1979, 1981, 2017) 6 (1971, 1974, 1983, 1992, 1999, 2011, 2017) 6 (1991, 2007, 2009, 2013, 2015, 2017) 3 (1985, 1987, 1997)
  อาร์เจนตินา 5 (1967, 1997, 1999, 2003, 2015) 7 (1958, 1979, 1991, 1995, 2001, 2007, 2019) 8 (1971, 1975, 1981, 1983, 1987, 1988, 2005, 2011) 2 (1974, 2017)
  โคลอมเบีย 3 (1987, 2005, 2013) 2 (1988, 2015) 3 (1964, 1985, 1992, 2019) 2 (2003, 2019)
  ปารากวัย 1 (1971) 5 (1964, 1967, 1985, 2009, 2013) 6 (1974, 1977, 1979, 1997, 2001, 2003) 3 (1988, 1991, 1999)
  เอกวาดอร์ 1 (2019) 1 (2017) 4 (1992, 1995, 2011)
  ชิลี 1 (1975) 1 (1995) 6 (1964, 1977, 2001, 2005, 2007, 2013)
  เปรู 2 (1967, 1971) 3 (1954, 1958, 1975)
  เวเนซุเอลา 2 (1954, 2017) 1 (2009)
  โบลิเวีย 2 (1981, 1983)

ดูเพิ่ม

แก้

อ้างอิง

แก้
  1. 1.0 1.1 Julio Bovi Diogo, José Luis Pierrend, Juan Pablo Andrés and Martín Tabeira (14 February 2019). "South American Youth Championships". RSSSF. สืบค้นเมื่อ 14 June 2019.{{cite web}}: CS1 maint: multiple names: authors list (ลิงก์)
  2. อาร์เจนตินา ชนะเลิศจากการจับสลาก
  3. 3.0 3.1 ไม่มีการแข่งขันชิงที่สาม
  4. ปารากวัย ชนะเลิศการแข่งขันเนื่องจากมีประตูได้เสียดีกว่าในรอบรองชนะเลิศ
  5. อุรุกวัย ชนะเลิศการแข่งขันขันหลังจากเอาชนะชิลีในการแข่งขันรอบชิงชนะเลิศ ซึ่งถูกจัดขึ้นเนื่องจากคะแนนและประตูได้เสียทั้งสองทีมเท่ากันในการแข่งขันรอบสุดท้าย (final stage)
  6. โคลอมเบีย และ ปารากวัย มีคะแนนและประตูได้เสียเท่ากันแต่ปารากวัยได้เป็นรองชนะเลิศเนื่องจากพวกเขามีอันดับที่ดีกว่าโคลอมเบียในรอบแรก