ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2005

ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2005 (อังกฤษ: 2005 FIFA Confederations Cup) เป็นการแข่งขันฟุตบอลระดับนานาชาติคอนเฟเดอเรชันส์คัพ จัดโดยฟีฟ่า ในปี ค.ศ. 2005 ที่ประเทศเยอรมนี โดยการแข่งขันจะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 1529 มิถุนายน ก่อนการแข่งขันฟุตบอลโลก 2006 1 ปี

ฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2005
Konföderationen-Pokal 2005
รายละเอียดการแข่งขัน
ประเทศเจ้าภาพเยอรมนี
วันที่15–29 มิถุนายน 2005
ทีม(จาก 6 สมาพันธ์)
สถานที่(ใน 5 เมืองเจ้าภาพ)
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน
ชนะเลิศธงชาติบราซิล บราซิล (สมัยที่ 2)
รองชนะเลิศธงชาติอาร์เจนตินา อาร์เจนตินา
อันดับที่ 3ธงชาติเยอรมนี เยอรมนี
อันดับที่ 4ธงชาติเม็กซิโก เม็กซิโก
สถิติการแข่งขัน
จำนวนนัดที่แข่งขัน16
จำนวนประตู56 (3.5 ประตูต่อนัด)
ผู้ชม603,106 (37,694 คนต่อนัด)
ผู้ทำประตูสูงสุดบราซิล อาเดรียนู (5 ประตู)
ผู้เล่นยอดเยี่ยมบราซิล อาเดรียนู
2003
2009

ทีมชาติบราซิล ทีมชนะเลิศฟุตบอลโลก 2002 และโกปาอาเมริกา 2004 ได้เป็นผู้ชนะการแข่งขันในปีนี้ หลังจากสามารถเอาชนะ อาร์เจนตินา ซึ่งได้แข่งขันเนื่องจากบราซิลชนะเลิศทั้งฟุตบอลโลกและโกปาอาเมริกา ในรอบชิงชนะเลิศที่ ค็อมแมทซ์บังค์-อาเรนา ในแฟรงก์เฟิร์ต ได้ 4–1 ซึ่งเป็นการพบกันอีกครั้งของทั้งคู่หลังจากทั้งคู่เคยพบกันในรอบชิงชนะเลิศของโกปาอาเมริกา 2004 ที่ลิมา ซึ่งบราซิลเอาชนะไปได้ในเกมนั้น

ทีมที่ผ่านเข้ารอบ

แก้
 
แผนที่ของทีมที่ผ่านเข้ารอบในฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2005
ทีม สมาพันธ์ วิธีการเข้ารอบ วันที่เข้ารอบ จำนวนครั้งที่เข้ารอบ
  เยอรมนี ยูฟ่า เจ้าภาพ ฟุตบอลโลก 2006 7 กรกฎาคม 2000 2
  บราซิล คอนเมบอล ชนะเลิศ ฟุตบอลโลก 2002 และ โกปาอาเมริกา 2004 30 มิถุนายน 2002 5
  เม็กซิโก คอนคาแคฟ ชนะเลิศ คอนคาแคฟโกลด์คัพ 2003 27 กรกฎาคม 2003 5
  ตูนิเซีย ซีเอเอฟ ชนะเลิศ แอฟริกาคัพออฟเนชันส์ 2004 14 กุมภาพันธ์ 2004 1
  กรีซ ยูฟ่า ชนะเลิศ ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติยุโรป 2000 4 กรกฎาคม 2004 1
  อาร์เจนตินา คอนเมบอล รองชนะเลิศ โกปาอาเมริกา 20041 20 กรกฎาคม 2004 3
  ญี่ปุ่น เอเอฟซี ชนะเลิศ เอเชียนคัพ 2004 7 สิงหาคม 2004 4
  ออสเตรเลีย โอเอฟซี ชนะเลิศ โอเอฟซีเนชันส์คัพ 2004 12 ตุลาคม 2004 3

1อาร์เจนตินา รองแชมป์โกปาอาเมริกา 2004 ได้ผ่านเข้ามาแข่งขัน เนื่องจาก บราซิล ชนะเลิศการแข่งขันทั้ง โกปาอาเมริกา 2004 และฟุตบอลโลก 2002[1]

สนาม

แก้
แฟรงก์เฟิร์ต โคโลญ ฮันโนเฟอร์ ไลพ์ซิก เนือร์นแบร์ก
ค็อมแมทซ์บังค์-อาเรนา ไรน์เอแนร์กีชตาดีอ็อน เอดับเบิลเด-อารีนา เซนทราลสตาดีโอ กันเดร์อารีนา
ความจุ: 48,132 ความจุ: 46,120 ความจุ: 44,652 ความจุ: 44,200 ความจุ: 41,926
         

แต่เดิมนั้นสนาม ฟริตซ์-ไวล์เทอร์-สตาดีโอน ในไคเซิร์สเลาเทิร์น ได้ถูกรับเลือกให้เป็นสถานแข่งขันด้วย แต่ในวันที่ 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2547 เจ้าหน้าที่ของเมืองได้ถอนตัวออกจากการเป็นเจ้าภาพ โดยให้เหตุผลว่าจะต้องใช้ค่าใช้จ่ายมากขึ้น หากจะสร้างสนามกีฬาให้เสร็จทันเวลาได้[2]

5 สนามที่ใช้จัดการแข่งขันฟีฟ่าคอนเฟเดอเรชันส์คัพ 2005 นี้ก็เป็นสนามจัดการแข่งขัน ฟุตบอลโลก 2006 ในปีถัดมา เช่นกัน

ลูกฟุตบอล

แก้

ลูกฟุตบอล อย่างเป็นทางการของการแข่งขัน คือ อาดิดาส เพียเรียส 2

ผู้ตัดสิน

แก้
สมาคม ผู้ตัดสิน ผู้ช่วย
เอเอฟซี แชมซุน ไมดิน (สิงค์โปร์) ปรัชญา เพิ่มพานิช (ไทย)
เบนเก็ต อัลลาแบรดเยฟ (เติร์กเมนิสถาน)
ซีเอเอฟ มูรัด แดนมี (ตูนิเซีย) เตาฮูฟิค กัซชันชี (ตูนิเซีย)
อาลี ทูมูเซงจ์ (ยูกันดา)
คอนคาแคฟ ปีเตอร์ ปรันเดอกรัส (จาเมกา) แอนโธนี่ การ์วูด (จาเมกา)
โจเซป เทย์เลอ (ตรินิแดดและโตเบโก)
คอนเมบอล การ์ลอส ชันดีอา (ชิลี) กริสเตียน ฆูริโอ (ชิลี)
มาริโอ วาร์กัส (ชิลี)
การ์โลส อมารีญา (ปารากวัย) อเมลิโอ อันดีโน (ปารากวัย)
มานูเอล เบอร์นัล (ปารากวัย)
โอเอฟซี แมทธิว บรีซ (ออสเตรเลีย) แมทธิว กรีม (ออสเตรเลีย)
จิม ออยาริส (ออสเตรเลีย)
ยูฟ่า แฮร์เบิร์ต ฟันเดอ (เยอรมนี) คาร์สตึง คาดาช (เยอรมนี)
เฟอร์คัก วิเซอ (เยอรมนี)
โรแบร์โต โรเซ็ตติ (อิตาลี) อเลซซานโตร ตริเซลลิ (อิตาลี)
กริสเตียโน โคเปลลิ (อิตาลี)
ลูโบส มิโครส (สโลวาเกีย) โรมัน ซิริชคอ (สโลวาเกีย)
มาร์ติน บัลคอ (สโลวาเกีย)

รายชื่อผู้เล่น

แก้

รอบแบ่งกลุ่ม

แก้

กลุ่มเอ

แก้






กลุ่มบี

แก้





รอบแพ้คัดออก

แก้
  Semi-finals Final
25 มิถุนายน – เนือร์นแบร์ก
   เยอรมนี  2  
   บราซิล  3  
 
29 มิถุนายน – แฟรงก์เฟิร์ต
       บราซิล  4
     อาร์เจนตินา  1
Third place
26 มิถุนายน – ฮันโนเฟอร์ 29 มิถุนายน – ไลพ์ซิก
   เม็กซิโก  1 (5)    เยอรมนี (ต่อเวลา)  4
   อาร์เจนตินา (ลูกโทษ)  1 (6)      เม็กซิโก  3

รอบรองชนะเลิศ

แก้

รอบชิงที่สาม

แก้

รอบชิงชนะเลิศ

แก้

สถิติ

แก้

รายชื่อผู้ทำประตู

แก้
5 ประตู
4 ประตู
3 ประตู
2 ประตู
1 ประตู

อันดับการแข่งขัน

แก้

ตามการประชุมการนับสถิติฟุตบอล การแข่งขันที่แข่งขันจบในช่วงต่อเวลาพิเศษ จะนับเป็นการชนะหรือแพ้ตามผลการแข่งขัน ในขณะที่การแข่งขันที่แข่งขันจบโดยการดวลลูกโทษ จะนับเป็นการเสมอ

อันดับ กลุ่ม ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน Final result
1 B   บราซิล 5 3 1 1 12 6 +6 10 ชนะเลิศ
2 A   อาร์เจนตินา 5 2 2 1 10 10 0 8 รองชนะเลิศ
3 A   เยอรมนี 5 3 1 1 15 11 +4 10 อันดับที่สาม
4 B   เม็กซิโก 5 2 2 1 7 6 +1 8 อันดับที่สาม
5 B   ญี่ปุ่น 3 1 1 1 4 4 0 4 ตกรอบใน
รอบแบ่งกลุ่ม
6 A   ตูนิเซีย 3 1 0 2 3 5 −2 3
7 B   กรีซ 3 0 1 2 0 4 −4 1
8 A   ออสเตรเลีย 3 0 0 3 5 10 −5 0
แหล่งข้อมูล: ฟีฟ่า[3]

รางวัล

แก้
ลูกบอลทองคำ รองเท้าทองคำ
  อาเดรียนู   อาเดรียนู
ลูกบอลเงิน รองเท้าเงิน
  ฆวน โรมัน ริเกลเม   มิชาเอล บัลลัค
ลุกบอลทองแดง รองเท้าทองแดง
  รอนัลดีนโย   จอน อโรยซี่
รางวัลทีมที่เล่นขาวสะอาด
  กรีซ

อ้างอิง

แก้
  1. "Argentina seal sixth FIFA Confederations Cup berth". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 22 July 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-12-09. สืบค้นเมื่อ 2 July 2012.
  2. "Kaiserslautern declines Confederations Cup role". FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 27 May 2004. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2014-08-26. สืบค้นเมื่อ 8 June 2014.
  3. "Statistical Kit: FIFA Confederations Cup (FCC 2017 post-event edition) – Ranking by tournament" (PDF). FIFA.com. Fédération Internationale de Football Association. 10 July 2017. p. 21. เก็บ (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 28 September 2019. สืบค้นเมื่อ 28 September 2019.

แหล่งข้อมูลอื่น

แก้